กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7329
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorฤภูวัลย์ จันทรสา
dc.contributor.authorพงศ์ณฐ สำเร็จเฟื่องฟู
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:45:51Z
dc.date.available2023-05-12T03:45:51Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7329
dc.descriptionงานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเสี่ยงและปรับปรุงการผลิตของผู้ผลิตชิ้นส่วน โดยประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์สาเหตุของลักษณะข้อบกพร่องและผลกระทบ (FMEA) ขั้นตอน การศึกษาเริ่มต้นจากการเก็บรวบรวมข้อมูลปัญหาที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งพบปัญหาหลัก 2 ประการ คือ การส่งมอบชิ้นส่วนผิดรุ่น และการส่งมอบชิ้นส่วนล่าช้า ปัญหานี้ได้ถูกวิเคราะห์ความเสี่ยงที่อาจจะ ส่งผลกระทบต่อสายการผลิตของลูกค้าด้วยแผนภูมิก้างปลาและ FMEA เพื่อจัดลำดับความสำคัญ ของปัญหาโดยใช้ดัชนี ความเสี่ยงชี้นำ (RPN) ผลจากการศึกษาพบสาเหตุของจุดบกพร่องใน กระบวนการผลิต 13 สาเหตุในโรงงานกรณีศึกษา โดยก่อนปรับปรุงมีค่าดัชนีความเสี่ยงชี้นำเฉลี่ย 207.7 คะแนน และพบปัญหาที่เกิดขึ้นที่หน้างานของลูกค้า จำนวน 11 ครั้งใน 18 เดือน หรือเฉลี่ย 0.61 ครั้งต่อเดือน งานวิจัยนี้ได้ปรับปรุงการผลิตที่เป็นจุดเสี่ยงซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาการส่งมอบโดยใช้เทคนิคการจัดการอาทิการควบคุมด้วยสายตา เทคนิคการซ่อมบำรุงเชิงป้องกันการวางแผนและควบคุมการผลิต การป้องกันความผิดพลาด 5ส เป็นต้น ผลของการปรับปรุงทำให้ค่าดัชนีความเสี่ยงชี้นำเฉลี่ยลดลงเป็น 24.54 โดยลดลงจากก่อนปรับปรุง ร้อยละ 88.18 และปัญหาที่พบที่หน้างานของลูกค้ามีเพียง 1 ครั้งใน 4 เดือน หรือเฉลี่ย 0.25 ครั้งต่อเดือนหรือลดลงร้อยละ 59.09
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
dc.subjectชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
dc.subjectอะไหล่
dc.titleการประยุกต์ FMEA ในการประเมินความเสี่ยงและปรับปรุงการผลิตของผู้ส่งมอบชิ้นส่วน
dc.title.alternativeAppliction of fme for risk evlution nd production improvement of supplier
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to evaluate the risks and improve the production system of an automotive supplier using Failure Modes and Effect Analysis (FMEA) technique. The research method began with collecting data of production problems for 18 months. The second step involved the analysis of main problems, which were the delivery of wrong parts and the delayed delivery. These problems might influence the risks incurred in customer’s production line. Then, Cause and Effect Diagram and FMEA were applied to analyze and quantified the roots causes of these problems. In this study, 13 issues of problems were found which had an average RPN score of 207.7 indicating high risks. These problems occurred in the shop floor of the supplier 11 times in 18 months, or 0.61 times/month. To mitigate these problems, the improvement of supplier production systems was performed using various management techniques, such as visual control, preventive maintenance, production planning and control, foolproof method (Poka-Yoke) and the 5S’s. After the improvement, the RPN score was reduced to 24.54, which was 88.18 % reduction, and the problem rate on the shop floor was reduced to 0.25 times/month, or 59.09% reduction.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf6.27 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น