กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7328
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorบรรหาญ ลิลา
dc.contributor.authorกิรณา มหิพันธ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:45:51Z
dc.date.available2023-05-12T03:45:51Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7328
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เสนอการศึกษาเปรียบเทียบตัวแบบการจัดการชิ้นส่วนอะไหล่สำหรับงานซ่อมบำรุงของเครื่องจักรที่สำคัญของกระบวนการผลิต เมื่อมีปริมาณความต้องการต่ำไม่ต่อเนื่องแต่มีความผันแปรสูงโดยเปรียบเทียบระหว่างตัวแบบ Q, r ตัวแบบ Max-Min ตัวแบบ T, s, S สำหรับกรณีที่ไม่ทราบความต้องการและตัวแบบคณิตศาสตร์ชนิดโปรแกรมเชิงเส้นจำนวนเต็มผสม สำหรับกรณีที่ทราบความต้องการใช้ตัวอย่างชิ้นส่วนอะไหล่จำนวน 15 ชนิด ที่มีการแจกแจง แบบปัวส์ซอง 10 ชนิด และแบบลอคนอร์มอล 5 ชนิด ประสิทธิภาพของตัวแบบพิจารณาจากดัชนี ต้นทุนการจัดการรวมเฉลี่ยและระดับบริการเฉลี่ยการประเมินคำตอบของตัวแบบ Q, r ตัวแบบ Max-Min และตัวแบบ T, s, S ใช้การจำลองสถานการณ์มอนติคาร์โล ส่วนตัวแบบคณิตศาสตร์จะประเมินคำตอบที่ดีที่สุดด้วยเอก็เซลโอเพน่ โซลเวอร์ 2.8.6 ผลการวิจัยพบว่า ในกรณีที่ทราบความต้องการตัวแบบโปรแกรมเชิงเส้นจำนวนเต็มผสม จะให้ผลลัพธ์ที่มีต้นทุนการจัดการรวมเฉลี่ยต่ำที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับตัวแบบอื่น ๆ เสมอ ที่ความต้องการชุดเดียวกันและระดับบริการเฉลี่ยในระดับที่ยอมรับได้สำหรับกรณีที่ไม่ทราบความต้องการตัวแบบ Max-Min ให้ผลลัพธ์ที่มีต้นทุนการจัดการรวมเฉลี่ยต่ำกว่าตัวแบบ Q, r และตัวแบบ T, s, S ร้อยละ 6.99 และร้อยละ 24.70 ตามลำดับ และมีระดับบริการในระดับที่ยอมรับได้ งานวิจัยนี้ยังพบว่า ในกรณีของความต้องการต่ำและไม่ต่อเนื่องการกำหนดระดับชิ้นส่วนสำรองเพื่อความปลอดภัยจากการแจกแจงของความต้องการที่แท้จริงจะมีความเหมาะสมมากขึ้น ดังนั้น การเลือกนโยบายการจัดการอะไหล่คงคลังที่เหมาะสมจึงต้องพิจารณาพฤติกรรมของความต้องการที่แท้จริงด้วย
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectคลังพัสดุ -- อะไหล่
dc.subjectอะไหล่
dc.subjectชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
dc.titleการศึกษานโยบายการจัดการพัสดุคงคลังชิ้นส่วนอะไหล่สำหรับงานซ่อมบำรุงเครื่องจักร
dc.title.alternativeA study of inventory mngement policy of spre prts for mchine mintennce opertions
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research presents a comparative study of spare part inventory models. The spare parts are inventoried to support future needs of the maintenance operations of significant machines. The demand of the spare parts is low, intermittent with high variation but known distribution. With an unknown demand, the Q, r, Max-Min and T, s, S models were utilized to determine the average total management cost and average service level. The Mixed Integer Linear Programing (MILP) model was also developed to determine the optimal lot size with a known demand assumption. The sample of 15 spare part types were taken from prior research and utilized in the comparison study. The demands for 10 and 5 of those types follows the Poisson and the Lognormal distributions, respectively. Results of the Q, r, Max-Min model and T, s, S models were evaluated using the concept of the Monte Carlo Simulation while the optimal solution of the MILP was solved using the OpenSolver 2.8.6 of Excel 2013. The results indicated that the MILP always provided the minimum average total management cost and acceptable service level compared to other models with the same sets of known demand. For the case of unknown demand, the Max-Min model provided 6.99 % and 24.70 % lower average total management cost than the Q, r and the T, s, S models, respectively, with acceptable service level. This study also revealed that, in the case of low and intermittent demand, considering its actual probability distribution would result in more suitable of the safety stock level. Thus, behavior of demand must be investigated in selecting of appropriate spare parts inventory management policy.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf3.67 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น