กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7325
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorนิรันดร์ วิทิตอนันต์
dc.contributor.authorประณต วัฒนานุกิจ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:45:47Z
dc.date.available2023-05-12T03:45:47Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7325
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractมลพิษทางเสียงเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญอย่างหนึ่งของสถาบันการศึกษา งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจวัดระดับเสียงในสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างแผนที่เส้นเสียงและประเมิน สถานภาพสิ่งแวดล้อมด้านเสียงของกลุ่มอาคารวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยี: มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตบางแสน จังหวัดชลบุรีโดยการวัดระดับเสียงในพื้นที่ศึกษาด้วยมาตรวัดระดับเสียง (IEC61672-1 Type 2) เพื่อคำนวณพารามิเตอร์ทางเสียงได้แก่ ค่า Leq,1hr , Leq,8hr , Leq,24hr, Ldnและ Lx ส่วนแผนที่เส้นเสียงสร้างจากโปรแกรม ArcGIS ผลการศึกษาพบว่า ระดับเสียงเฉลี่ยที่ตรวจวัดได้ ใน 8 ชั่วโมง (Leq,8hr) และ 24 ชั่วโมง (Leq,24hr) ส่วนใหญ่มีค่าไม่เกินค่ามาตรฐาน โดยค่า Leq,8 hr ในวันทำงานและวันหยุดมีค่าในช่วง 56.75 – 72.14 dB(A) และ 52.92 – 71.44 dB(A) ตามลำดับ ส่วนค่า Leq,24hr ในวันทำงานและวันหยุด มีค่าในช่วง 56.64 – 70.45 dB(A) และ 53.49 – 69.23 dB(A) ตามลำดับ ทั้งนี้ค่า Ldn ในวันทำงานมีค่าในช่วง 58.60 – 72.97 dB(A) ส่วนในวันหยุด มีค่าในช่วง 56.54 – 72.47 dB(A) สำหรับค่า L90 ซึ่งเป็นค่าระดับเสียงพื้นฐานของพื้นที่ศึกษาในวันทำงานและวันหยุด มีค่าในช่วง 51.50 -66.10 dB(A) และ 46.70 – 65.70 dB(A) ตามลำดับ จากแผนที่เส้นเสียง พบว่า บริเวณส่วนกลางของพื้นที่ศึกษาซึ่งเป็นอาคารเรียนและอาคารสำนักงานมีค่าระดับเสียงต่ำกว่าบริเวณโดยรอบซึ่งอยู่ติดกับถนนทั้งนี้สถานภาพสิ่งแวดล้อมด้านเสียงของพื้นที่ศึกษามีปัญหาในระดับปานกลาง
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectเสียง -- การวัด
dc.subjectเสียง -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
dc.titleระดับเสียงในสิ่งแวดล้อมกลุ่มอาคารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตบางแสน จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeEnvironmentl noise level in burph university, bngsn cmpus, chonburi province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeNoise pollution is one of the most important environmental problems in the academic institution. The objective of this research was on environmental noise measurement, provided contour noise map and evaluation of the environmental noise status in science and technology building group: Burapha University, Bangsan Campus, Chon Buri province. The noise level in the study area was measurement by sound level meter (IEC61672-1 Type 2) to calculate the noise parameters such as, Leq,8hr , Leq,24hr, Ldn and Lx . The noise contour map provided by ArcGIS program. The results show that the most of the equivalent sound level in 8 hours (Leq,8hr) and 24 hours (Leq,24hr) were not higher than the standards. The Leq,8 hrvalue in working day and holiday was in range of 56.75 – 72.14 dB(A) and 52.92 – 71.44 dB(A), respectively. The Leq,24 hrvalue in working day and holiday was in range of 56.64 – 70.45 dB(A) and 53.49 – 69.23 dB(A), respectively. The Ldn in working day was in range of 58.60 – 72.97 dB(A), while holiday was in range of 56.54 – 72.47 dB(A). The L90 , the background noise, of the study area in working day and holiday was in range of 51.50 -66.10 dB(A) and 46.70 – 65.70 dB(A), respectively. The noise contour map show that the center of the study area, which is the academic and office building, has lower noise level than the edge of the study area. The overall environmental noise status in the study area was evaluated as of moderate level.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf11.26 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น