กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7320
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอนุกูล บูรณประทีปรัตน์
dc.contributor.authorศิราพร ทองอุดม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:45:41Z
dc.date.available2023-05-12T03:45:41Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7320
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการจำลองการไหลเวียนกระแสน้ำด้วยแบบจำลองอุทกพลศาสตร์ POM (Princeton Ocean Model) 3 มิติเพื่อหาเงื่อนไขขอบเขตเปิดที่เหมาะสมในการนำมาศึกษาการไหลเวียนกระแสน้ำในบริเวณอ่าวไทยตอนเหนือโดยจำลองการไหลเวียนกระแสน้ำภายใต้เงื่อนไขขอบเขตเปิดแบบระดับน้ำ (Case B1) และแบบกระแสน้ำ (Case B2) ซึ่งได้รวมเอาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการไหลเวียนกระแสน้ำ ได้แก่ ลม น้ำขึ้นน้ำลง น้ำท่า ความเค็มและอุณหภูมิน้ำทะเล รวมถึงความลึกพื้นท้องทะเลเข้าในการคำนวณ ผลการศึกษา พบว่ากระแสน้ำ Case B1 มีลักษณะแรงผิดปกติ (100 cm/s) บริเวณใกล้ขอบเขตเปิด และไม่พบการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล ส่วนอ่าวไทยตอนบนกระแสน้ำมีอัตราเร็ว 10– 20 cm/s และพบการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล Case B2 กระแสน้ำใกล้ขอบเขตเปิดมีลักษณะเบา และเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลเช่นเดียวกับอ่าวไทยตอนบน (อัตราเร็ว 10 – 20 cm/s) จากการเปรียบเทียบระดับน้ำขึ้น น้ำลงพบว่าผลการคำนวณจาก Case B2 มีความสอดคล้องกับระดับน้ำขึ้น น้ำลงจากการตรวจวัดมากกว่า Case B1 จึงสรุปได้ว่าเงื่อนไขขอบเขตเปิดแบบกระแสน้ำ มีความเหมาะสมในการนำมาศึกษาการไหลเวียนกระแสน้ำในอ่าวไทยตอนเหนือมากกว่าแบบระดับน้ำกระแสน้ำตามฤดูกาลในอ่าวไทยตอนเหนือจากแบบจำลอง Case B2 พบว่ากระแสน้ำใกล้ผิวทะเลและกระแสน้ำใกล้พื้นทะเลเปลี่ยนแปลงไปตามอิทธิพลของลม โดยพบว่ากระแสน้ำ เฉลี่ยตามความลึกในช่วงฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ไหลไปทางทิศตะวันออก และไหลแบบตามเข็มนาฬิกาในบริเวณอ่าวไทยตอนบนในช่วงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือกระแสน้ำไหลไปทางทิศ ตะวันตกและไหลแบบทวนเข็มนาฬิกาในบริเวณอ่าวไทยตอนบน ส่วนช่วงเปลี่ยนฤดูครั้งที่ 1 กระแสน้ำไหลแบบทวนเข็มนาฬิกาบริเวณชายฝั่งด้านตะวันออก และไหลแบบตามเข็มนาฬิกา บริเวณอ่าวไทยตอนบน และช่วงเปลี่ยนฤดูครั้งที่ 2 กระแสน้ำมีลักษณะเบาและไหลไปทางทิศตะวันตก และไหลแบบทวนเข็มนาฬิกาในบริเวณอ่าวไทยตอนบน
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectน้ำขึ้นน้ำลง
dc.subjectกระแสน้ำ -- แบบจำลอง
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวาริชศาสตร์
dc.subjectกระแสน้ำ -- อ่าวไทย
dc.titleการจำลองการไหลเวียนกระแสน้ำในอ่าวไทยตอนเหนือโดยใช้แบบจำลองเชิงตัวเลขภายใต้เงื่อนไขขอบเขตเปิดที่แตกต่างกัน
dc.title.alternativeSimultions of circultion in the Northern Gulf of Thilnd by using numericl model under different open boundby conditions
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to compare the simulation performances of the Princeton Ocean Model (POM) in the Northern Gulf of Thailand (NGoT) to investigate suitable open boundary conditions (OBC) in simulating water circulations in this area. Water circulation in NGoT was simulated under two OBC including the elevation forcing condition (Case B1) and the current forcing condition (Case B2). Monthly mean wind, tide, river discharge, water temperature and salinity and bottom topography were used as major forcing in the simulations. The results show that water current was strong (100 cm/s)and did not change seasonally near open boundary. However circulation in the upper Gulf of Thailand (UGoT) was varied by the influence of seasonal wind with average current magnitude of about 10 – 20 cm/s. Case B2 generated weaker, but seasonally varied, current near the open boundary, compared with Case B1, and also wind seemed to control the residual circulation in UGoT with current magnitude of 10 – 20 cm/s.The model calibrations with measured tidal data showed better results of Case B2 than those of Case B1 in simulating water circulations in this area. Seasonal variations in surface and bottom circulation in NGoT from Case B2 were changed by seasonal wind. Monthly depth averaged currents in the southwest monsoon was directed eastward in NGoT and a clockwise circulation(CW) was generated in UGoT. During the northeast monsoon, water circulation was directed westward in NGoT, while in UGoT a counter-clockwise circulation (CCW) was generated. A CCW and CW were generated in NGoT and UGoT respectively, during the 1 st inter-monsoon period. In the 2nd inter-monsoon period, a weaker circulation was directed westward in NGoT and a CCW circulation was generated in UGoT.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวาริชศาสตร์
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf19.02 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น