กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7318
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเชษฐ์ ศิริสวัสดิ์
dc.contributor.advisorชนวัฒน์ ตันติวรานุรักษ์
dc.contributor.authorศศิวัฒน์ เดชะ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:45:40Z
dc.date.available2023-05-12T03:45:40Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7318
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการคิดวิเคราะห์ในวิชาชีววิทยา เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น โดยเน้นระดับของการสืบเสาะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนในแผนการเรียนเน้นวิทยาศาสตร์ จำนวน 2 ห้องเรียน โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้อง 45 คน และกลุ่มควบคุม 1 ห้อง 45 คน ของภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนปราจิณราษฎรอำรุง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี โดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้การประยุกต์ใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น โดยเน้นระดับของการสืบเสาะเรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต จำนวน 4 แผน แบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยา เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวติ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น โดยเน้นระดับของการสืบเสาะ มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกจากนี้นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น โดยเน้น ระดับของการสืบเสาะ ยังมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนและการคิดวิเคราะห์สูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เช่นเดียวกัน จากผลการวิจัยสรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น โดยเน้นระดับของการสืบเสาะนั้น ช่วยให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดวิเคราะห์สูงขั้น ซึ่งจะส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพกับนักเรียนต่อไป
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectชีววิทยา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาชีววิทยาศึกษา
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.subjectสิ่งมีชีวิต
dc.subjectชีววิทยา -- กิจกรรมการเรียนการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subjectชีวิต (ชีววิทยา)
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์และการคิดวิเคราะห์ในวิชาชีววิทยาเรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิตชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้นโดยเน้นระดับของการสืบเสาะ
dc.title.alternativeDevelopment of scientific chievement nd nlyticl thinking for cell biology of orgnisms for grde 10 students using 7e lerning cycle emphsizing on the level of inquiry
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was studied about biology achievement and analytical of teaching by using 7E learning inquiry cycle emphasizing the level of inquiry technique. The target two groups from 10 th grade students, Prachinratsadornamroong, Mueng Districh, Prachinburi province. The experimental group consisted of 45 persons and control group consisted of 45 persons by chosen from cluster random sampling in this study. The research tools comprised of four lesson plans, an achievement test and analytical test. Following the research indicated the student that were taught by the 7E learning inquiry cycle emphasizing the level of inquiry have achievement post-test and analytical that showed the post-test score were significantly (p<.05) higher than the student that were taught by the normal . The learning achievement post-test and analytical was higher than criterion with the statistical significance at .05. The study concluded that the teaching by using 7E learning inquiry cycle emphasizing the level of inquiry technique could be developed students for learning achievementand analytical towards learning biology in the future.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineชีววิทยาศึกษา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.67 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น