กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7316
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อังคณา บุญดิเรก | |
dc.contributor.advisor | คณินทร์ ธีรภาพโอฬาร | |
dc.contributor.author | หทัยรัตน์ นาราษฎร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:45:39Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:45:39Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7316 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกำลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5โดยใช้รูปแบบการสอน STAD ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียโพธิ์ตากพิทยาคม อำเภอโพธิ์ตากจังหวัดหนองคาย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 26 คน รูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) ของ Kemmis and McTaggart จำนวน 3 วงจร ปฏิบัติการ ซึ่งมี 4 ขั้น ตอน คือ1) ขั้นการวางแผนเป็นการศึกษาสภาพปัญหาเอกสาร งานวิจัยที่ เกี่ยวข้องและสร้างเครื่องมือวิจัย 2) ขั้นการปฏิบัติ เป็นการดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างและพัฒ นาขึ้น 3) ขั้นสังเกตการณ์เป็นการใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติการ 4) ขั้นการสะท้อนการปฏิบัติเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อปรับปรุงพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ยค่าร้อยละและสรุปเป็นความเรียง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยจำแนกได้ 3 ประเภท คือ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองปฏิบัติ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้วชิาคณิตศาสตร์เรื่อง เลขยกกำลังชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้รูปแบบการสอน STAD จำนวน 6 แผน 2) เครื่องมือที่ใช้ในการสะท้อนผลการปฏิบัติ ได้แก่ แบบสังเกตพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ของผู้วิจัย แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน แบบบันทึกผลหลังการใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบสัมภาษณ์นักเรียนเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้และแบบทดสอบย่อยท้ายวงจรปฏิบัติการ 3) เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง เลขยกกำลังชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยร้อยละ 60.77 และมีจำนวนนักเรียนร้อยละ 73.08 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตั้งแต่ร้อยละ60 ขึ้นไป | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | เลขยกกำลัง (พีชคณิต) | |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา | |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | |
dc.title | การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง เลขยกกำลังชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้รูปแบบการสอน STAD | |
dc.title.alternative | Action reserch for development of mthemtics chievement in “POWER” for mthyomsuks 5 students using STAD coopertive lerning model | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to enhance mathematics learning achievement in “Power” for Mathayomsuksa 5 students using STAD cooperative learning model by action research. Target group for this research was 26 students studying in Mathayomsuksa 5/1 during the first semester of 2015 academic year at Photakpit School, Nong Khai province, under Secondary Education Service Area Office 21. This research was conducted through 3 action spirals of action research method of Kemmis and McTaggart in which consisted of 4 steps including 1) planning: studied the problems, related papers and researches, and created research instruments, 2) practice: processed the teaching through lesson plan, 3) observation: used instruments to collect data from practice, 4) refection: analyzed the data for improving learning activities to be more efficient. Data was analyzed through value of mean and percentage before summarizing in essay format. Research instruments were divided into 3 types including 1) experiment instrument: 6 lesson plans created by using STAD cooperative learning model in “Power” for Mathayomsuksa 5 students, 2) refection instrument: observation form for learning management behavior of researcher, observation form for learning behavior of students, record form for result of using lesson plan, interview form for students’ opinion in learning management and end-of-spiral quizzes, 3) evaluation instrument for efficiency of learning management model: test form for measuring learning achievement Mathematics in “Power” for Mathayomsuksa 5 students. The findings of this study were students could have of learning achievement at 60.77%. The 73.08% of students could have learning achievement more than 60%. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | คณิตศาสตร์ศึกษา | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 7.52 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น