กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7305
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิมลรัตน์ จตุรานนท์ | |
dc.contributor.advisor | เกษมสันต์ พานิชเจริญ | |
dc.contributor.author | เจนจิรา กัลพฤกษ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:45:37Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:45:37Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7305 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของชุดการสอนสำหรับนักเรียน ตามเกณฑ์ 80/ 80 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยชุดการสอนการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย โดยการใช้เกม เพื่อเปรียบเทียบสมรรถภาพกายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนเรียนและ หลังเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายโดยใช้เกม และเพื่อวัดเจตคติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อชุดการสอนการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย โดยการใช้เกม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) ชุดการสอนการสร้างเสริมสมรรถภาพ โดยการใช้เกม 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย โดยการใช้เกม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 3) แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดยกรมพลศึกษา 4) แบบวัดเจตคติที่มีต่อชุดการสอนสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย โดยการใช้เกม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนชลกันยานุกูลโดยการสุ่ม แบบกลุ่ม จำนวน 1 ห้องเรียน จาก 17 ห้องเรียน มีนักเรียนเป็นกลุ่มตัวอย่าง 50 คน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ชุดการสอนการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย โดยการใช้เกม สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนชลกันยานุกูล จำนวน 6 ชุดการสอน ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ แต่ละชุด ดังนี้ 82.60, 83.20, 84.60, 82.60, 86.00 และ 86.20 ซึ่งมีประสิทธิภาพ 84.20/ 80.17 ตามเกณฑ์เป้าหมาย 80/ 80 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 3. การเปรียบเทียบสมรรถภาพางกาย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการใช้เกม คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 4. เจตคติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนที่มีต่อชุดการสอนการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย โดยการใช้เกม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.69 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | สมรรถภาพทางกาย (มัธยมศึกษา) | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน | |
dc.subject | เกม -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | |
dc.title | การสร้างชุดการสอนการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายโดยการใช้เกมสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 | |
dc.title.alternative | The construction of instructionl pckge to helth relted physicl fitness by using gmes for mthyomsuks 4 students | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were, 1) to develop health related physical fitness instructional package by using games for Mathayomsuksa 4 students, to meet the efficiency criterion of 80/ 80, 2) to study the students’ academic achievement after studying with the health related physical fitness instructional package, 3) to compare the students health related physical fitness before and after studying with the package and 4) the students attitude towards a health related physical fitness instructional package. The instruments in the student comprised of, 1) the instructional package of health related physical fitness 2) Mathayomsuksa 4 students achievement test, 3) physical fitness test, and 4) attitude questionnaire towards the instructional package. The samples in the study were 50 Mathayomsuksa 4 students at Chonkanyanukoon School, they were selected by cluster random samping. The statistic used for data analysis were, percentage, mean, standard deviation and t-test. (dependent) The research result were: 1. Six health related physical fitness instructional package possessed the efficiency as follows; package one: 82.60, package two: 83.20, package three: 84.60, package four: 82.60, package five: 86.00 and package six: 86.20. The over all was 84.20/ 80.17 which met the set criteria 80/ 80. 2. The comparison of the pretest scores and the posttest scores showed that the posttest scores were significant higher than the pretest scores at .01 statistical difference. 3. The health related physical fitness of students after studying with the package were significant higher than the scores of the pre-study at the .01 statistical level. ช 4. The attitude towards the instructional package after studying a health related physical fitness instructional package was at highest satisfied (ܺതൌ 4.69) | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | หลักสูตรและการสอน | |
dc.degree.name | การศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.33 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น