กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7299
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสมุทร ชำนาญ
dc.contributor.authorสายไหม เอื้อเฟื้อ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:45:36Z
dc.date.available2023-05-12T03:45:36Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7299
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูโรงเรียน เทพศิรินทร์ร่มเกล้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ข้าราชการครูในโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 จำนวน 131 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล เป็นแบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง .30-.88 และค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือทั้งฉบับ เท่ากับ .98 และค่าสถิติ ที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าสถิติร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่าที (t-test) และวิเคราะห์โดยใช้สถิติความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัย พบว่า 1. แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า ปัจจัยจูงใจ โดยรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก 3 ด้าน เรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านความสำเร็จในการทำงาน ด้านความรับผิดชอบ และด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ 2. เปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้าน ปัจจัยจูงใจแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. เปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 จำแนกตามอายุ โดยรวมปัจจัยจูงใจแตกต่างกัน อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. เปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 จำแนกตามระดับการศึกษา โดยรวมและรายด้าน ปัจจัยจูงใจแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectครู -- การทำงาน
dc.subjectแรงจูงใจในการทำงาน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.titleแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
dc.title.alternativeThe motivtion of work in debsirinromklo school under the secondry eductionl service re 2
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to investigate teachers’ work motivation in Debsirinromklao School under the Secondary Educational Service Area Office 2. The sample of this study was 131 teachers in Debsirinromklao School under the Secondary Educational Service Area Office 2. The five-rating scale questionnaire was used as the instrument to collect data. The discriminative power of this questionnaire was between .30-.88 and its reliability was .98. The statistics used for data analysis were Percentage (%), Mean ( ), Standard deviation (SD), t-test, and One-way ANOVA. The results of this research indicate that: 1. Teachers’ work motivation in Debsirinromklao School under the Secondary Educational Service Area Office 2 in overall was at a high level. When considering each aspect of teachers’motivation, work achievement had the highest mean score, followed by responsibility, and the nature of work. 2. At both overall and individual aspect, motivation factors affecting teachers’ work motivation in Debsirinromklao School under the Secondary Educational Service Area Office 2 Showed no statistically significant difference. 3. Teachers with different in overall ages had different opinions towards work motivation in Debsirinromklao School under the Secondary Educational Service Area Office 2 with statistical insignificance level. When considering each aspect of teachers’ motivation, teachers with different ages had different opinions towards the recognition with statistical significance level of .05. 4. At both overall and individual aspect, teachers with different education level had different opinions towards work motivation in Debsirinromklao School under the Secondary Educational Service Area Office 2 with statistical insignificance level.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf870.34 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น