กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7266
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเอกวิทย์ มณีธร
dc.contributor.authorพรยุพา ชาลีชาติ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:39:12Z
dc.date.available2023-05-12T03:39:12Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7266
dc.descriptionงานนิพนธ์ (ร.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง พฤติกรรมก้าวร้าวของนักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมก้าวร้าวของนักศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทราและเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมก้าวร้าวของนักศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา มีความแตกต่างกันในเรื่องปัจจัยใดบ้าง จํานวน 307 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงแบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมุติฐาน และทดสอบความแปรปรวนทางเดียว หากพบความแตกต่างที่มีนัยสําคัญทางสถิติ .05 เปรียบเทียบรายคู่ภายหลังการทดสอบความแปรปรวน ด้วยวิธีการแบบ LSD ผลการวิจัยพบว่า ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอบางปะกง จังหวัด ฉะเชิงเทรา มีพฤติกรรมก้าวร้าวน้อย เมื่อพิจารณารายด้านของระดับพฤติกรรมก้าวร้าว พบว่า 1. นักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา มีพฤติกรรมก้าวร้าว ทางด้านร่างกายมากที่สุด รองลงมาคือ พฤติกรรมก้าวร้าวด้านวาจา 2. นักศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ที่มีอายุต่างกัน มีพฤติกรรมก้าวร้าวไม่แตกต่างกัน แต่นักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทราที่มีเพศ ระดับการศึกษา ผลการเรียน สถานภาพ การสมรสของบิดามารดา รายได้ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน ความสัมพันธ์ในครอบครัว ต่างกัน มีพฤติกรรมก้าวร้าวที่แตกต่างกัน นักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอบางปะกง จังหวัด ฉะเชิงเทรา ที่มีเพื่อนสนิทต่างกัน ส่งผลต่อพฤติกรรมก้าวร้าวที่แตกต่างกัน เพื่อนสนิทมีการกระทําในลักษณะทุบตี เตะต่อย ทะเลาะกันรุนแรง หรือ ขว้างปาสิ่งของ ใช้ไม้ และหรือสิ่งของบางอย่างที่อยู่ใกล้มือทําร้าย เพื่อนสนิทมีการใช้วาจาซึ่งมีลักษณะการพูดคุยที่หยาบคาย หรือดุด่า ตะคอก ดูถูกเหยียดหยามผู้อื่น ข่มขู่ ทําให้ผู้อื่นตกใจ เสียใจ หรือหวาดกลัว และเมื่อได้รับชมสื่อที่มีเนื้อหาความรุนแรงไม่ว่าจะเป็นกระทําทางวาจา หรือ ทางร่างกาย มีความรู้สึกกับเหตุการณ์ความรุนแรงนั้น ๆ ต่างกัน มีพฤติกรรมก้าวร้าวแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการศึกษานอกระบบโรงเรียน -- ไทย -- ฉะเชิงเทรา
dc.subjectความก้าวร้าว
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารงานยุติธรรมและสังคม
dc.subjectความก้าวร้าวในวัยรุ่น
dc.subjectนักศึกษา -- พฤติกรรม
dc.titleพฤติกรรมก้าวร้าวของนักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
dc.title.alternativeAggressive behvior of non-forml students in Bngpkong district, Chchoengso province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research aimed 1. to study aggressive behavior of students at Non-formal and Informal Education Center in Bang Pakong District, Chachoengsao Province and 2. to compare aggressive behavior of those students to see the background factors of their aggressive behavior. The samples were 307 students. The statistics used for analyzing the data included frequency distribution, hypothesis testing and One-way ANOVA. Multiple Comparison-Least Significance Difference (LSD)-was employed once the statistical difference reached .05. The study showed that the student’s aggressive behavior existed in low level. When each aspect of aggressive behavior was considered, the results were as follows. 1. The highest-rated aggressive behavior of the studied students was in forms of physical aggressiveness followed by verbal aggressiveness. 2. Students with different age showed no difference of aggressive behavior, but students with differences of sex, educational level, grade point, parents’ marital status, family monthly income, and student-family member relationship showed difference of aggressive behavior. were factors of the students’ aggressive behavior. Friend had impact on the student’s aggressive behavior. Those students whose friends were aggressive tended to lead to assimilation of both physical and verbal aggressive behavior. The examination of student’s opportunity to learn aggressiveness from media containing brutality and physical/verbal violence showed different levels of feeling toward received violence and expressed different aggressive behavior at statistical significance of .05.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารงานยุติธรรมและสังคม
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.25 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น