กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7265
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เอกวิทย์ มณีธร | |
dc.contributor.author | สิทธิพร นาคสิน | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:39:12Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:39:12Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7265 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (ร.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับทัศนคติของประชาชนต่อบริการสวัสดิการสังคมของเทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชนต่อบริการสวัสดิการสังคมของเทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยจําแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพการสมรส อาชีพ และรายได้ต่อเดือน เก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม จํานวน 399 ชุด ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นเพศหญิงมากที่สุด อายุ 21 – 30 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรีมากที่สุด มีสถานภาพโสด มีอาชีพรับจ้าง/ ก่อสร้าง และมีรายได้ต่อเดือน 15,001 – 20,000 บาท มากที่สุด ทัศนคติของประชาชนต่อบริการงานสวัสดิการสังคมของเทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (Xˉ = 4.04) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ประชาชนมีทัศนคติ เกี่ยวกับบริการสวัสดิการด้านการบริการสังคมทั่วไปของเทศบาล อยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด (Xˉ = 4.46) รองลงมา คือ สวัสดิการด้านกระบวนการยุติธรรม อยู่ในระดับมากที่สุด (Xˉ = 4.41) สวัสดิการด้านการศึกษา อยู่ในระดับมาก (Xˉ = 4.09) สวัสดิการด้านนันทนาการ อยู่ในระดับมาก (Xˉ = 4.07) สวัสดิการด้านสุขภาพอนามัย อยู่ในระดับมาก (Xˉ = 3.93) สวัสดิการด้านการมีรายได้อยู่ในระดับมาก (Xˉ = 3.70) และด้านสวัสดิการด้านที่อยู่อาศัย อยู่ในระดับมาก (Xˉ = 3.63) ตามลําดับ ประชาชนที่มีอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน มีทัศนคติต่อบริการงานสวัสดิการสังคมของเทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ส่วนประชาชนที่มีเพศ และสถานภาพการสมรสต่างกัน มีทัศนคติต่อบริการงานสวัสดิการสังคมของเทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ส่วนข้อเสนอแนะอื่น ๆ พบว่า ประชาชนต้องการให้เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์เปิดโอกาสให้ประชาชนทุกกลุ่มอาชีพเข้ามามีส่วนร่วมในการกําหนดนโยบายต่าง ๆ ให้มากขึ้น และต้องการให้เข้ามาดูแลเรื่องสภาพที่อยู่อาศัยให้มีสะอาดและปลอดภัยจากอาชญากรรมมากขึ้น | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ประชาชน -- ทัศนคติ | |
dc.subject | บริการของเทศบาล -- ความพอใจของผู้ใช้บริการ | |
dc.subject | เทศบาลนคร -- ความพอใจของผู้ใช้บริการ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารงานยุติธรรมและสังคม | |
dc.subject | บริการสังคม -- ไทย -- ชลบุรี | |
dc.subject | เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ -- ไทย -- ชลบุรี | |
dc.title | ทัศนคติของประชาชนต่อบริการงานสวัสดิการสังคมของเทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี | |
dc.title.alternative | Public ttitude with socil welfre services provided by Choprysursk city municiplity, Srirch district, Chonburi province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were 1) to study people’s attitude toward social welfare service and 2) to compare people’s satisfaction with social welfare service provided by Chaoprayasurasak City municipality, Sriracha district, Chon Buri province. This research relied on demographic factors including sex, age, educational level, marital status, occupation and monthly income. The data was collected from 399 sets of questionnaire. The demographic factors indicated that most of the respondents were female. The age range mostly found was 21-30 years old. The most rated educational level was Bachelor’s degree. The marital status of the majority respondents were single. The occupation indicated the most was employee/construction workers. And, the salary range mostly indicated was 15,001 – 20,000 baht. Overall attitude toward social welfare service at the studied municipality was high ( X = 4.04). When each aspect was examined, the results were as follows. The attitude toward general social service was “strongly agree” ( X = 4.46) followed by justice ( X = 4.41), education ( X = 4.09), recreation ( X = 4.07), health ( X = 3.93), income ( X = 3.70), and dwelling ( X = 3.63), respectively. Attitude toward the social welfare service was different depending on age ranges, educational levels, occupations, and salary ranges at statistical significance of .05. This agreed with the hypothesis. Sex and marital status indicated no different attitude toward the social welfare service provided by Chaoprayasurasak City municipality. This disagreed with the hypothesis. The suggestions about the service were on 1. greater opportunity for people with more various occupations to take part in policy making, 2. cleanliness of community, and 3. criminalfree environment. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารงานยุติธรรมและสังคม | |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 697.3 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น