กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7251
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิเชียร ตันศิริคงคล | |
dc.contributor.author | ธนิต แป้งเทา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:39:09Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:39:09Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7251 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (ร.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงปริมาณ ได้ทําการศึกษาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึง ความสัมพันธ์เชิงพฤติกรรม และระบบอุปถัมภ์ที่มีความสัมพันธ์ระหว่างผู้นําชุมชนกับประชาชนในเขตเทศบาลตําบลห้วยกะปิ อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โดยมีวิธีการเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม ซึ่งประชากรกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 385 คน ใช้สถิติ Chi-Square ของ Pearson ผลการศึกษาพบว่า ความสัมพันธ์เชิงพฤติกรรม และระบบอุปถัมภ์ที่มีความสัมพันธ์ระหว่างผู้นําชุมชนกับประชาชนในเขตเทศบาลตําบลห้วยกะปิ อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ดังนี้ ความสัมพันธ์เชิงพฤติกรรม 10 คําถาม เพศ เคย 158 คน ไม่เคย 227 คน อายุ เคย 149 คน ไม่เคย 236 คน ระดับการศึกษา เคย 133 คน ไม่เคย 252 คน สถานภาพสมรส เคย 165 คน ไม่เคย 220 คน รายได้ เคย 84 คน ไม่เคย 301 คน อาชีพ เคย 201 คน ไม่เคย 184 คน ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ เคย 184 คน ไม่เคย 201 คน ส่วนระบบอุปถัมภ์ที่มีความสัมพันธ์ 10 คําถาม เพศ เห็นด้วย 86 คน เฉย ๆ 18 คน ไม่เห็นด้วย 281 คน อายุ เห็นด้วย 128 คน เฉย ๆ 55 คน ไม่เห็นด้วย 202 คน ระดับการศึกษา เห็นด้วย 130 คน เฉย ๆ 65 คน ไม่เห็นด้วย 190 คน สถานภาพสมรส เห็นด้วย 142 คน เฉย ๆ 59 คน ไม่เห็นด้วย 184 คน รายได้ เห็นด้วย 97 คน เฉย ๆ 51 คน ไม่เห็นด้วย 237 คน อาชีพ เห็นด้วย 86 คน เฉย ๆ 71 คน ไม่เห็นด้วย 228 คน ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ เห็นด้วย 70 คน เฉย ๆ 31 คน ไม่เห็นด้วย 284 คน ดังนั้นระบบอุปถัมภ์จึงเป็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลสองฝ่ายที่มีสถานภาพทางสังคมไม่เท่าเทียมกัน ฝ่ายที่อยู่เหนือกว่า คือผู้ที่มีทรัพยากรมากกว่า มีอํานาจมากกว่า จะอยู่ในฐานะผู้อุปถัมภ์ ฝ่ายที่อยู่ต่ำกว่า คือผู้ที่มีทรัพยากรน้อยกว่า หรือมีอํานาจด้อยกว่า จะอยู่ใน ฐานผู้ใต้อุปถัมภ์โดยทั้งสองฝ่ายต่างมีการแสวงหาแลกเปลี่ยนผลประโยชน์กันในลักษณะต่างตอบแทน ซึ่งขึ้นอยู่กับความสมัครใจของทั้งสองฝ่าย ความสัมพันธ์ลักษณะนี้ดํารงอยู่ได้ไม่ใช่เพียง เพราะต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์ เท่านั้น แต่ต้องมีอุดมการณ์ที่ช่วยจรรโลงความสัมพันธ์อย่างนี้เอาไว้ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | นโยบายสาธารณะ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการเมืองการปกครอง | |
dc.subject | เทศบาลตำบลห้วยกะปิ (ชลบุรี) -- การบริหาร | |
dc.subject | ระบบอุปถัมภ์ | |
dc.subject | ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล | |
dc.title | ระบบอุปถัมภ์ที่มีสัมพันธ์ระหว่างผู้นำชุมชนกับประชาชนในเขตเทศบาลตำบลห้วยกะปิ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี | |
dc.title.alternative | The ptronge system between the community leders nd people in Huykpi municiplity, Mueng Chonburi, Chonburi province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research is quantitative research. The study was conducted with the aim of Behavior and patronage systems that relate to community leaders and people in the municipality.Huaykapi District, Muang District, Chon Buri Province There is a way to store data using the query. The sample population. 385 people use Chi-Square's Pearson statistic. The study indicated that Behavioral relationship And the patronage system with the relationship between leaders. Community and people in the municipality of Huaykapi District, Muang District, Chonburi. Behavioral relationship 10 questions Sex Ever 158 never 227, Age Ever 149 never 236, Education Ever 133 never 252, Marital status Ever 165 never 220, income Ever 84 never 301, career Ever 201 never 184, Period of residence Ever 184 never 201. Foster systern with 10 questions Sex agree 86 Dormant 18 disagree 281, Age agree 128 Dormant 55 disagree 202, Education agree 130 Dormant 65 Disagree 190, Marital status agree 142 Dormant 59 disagree 184, income agree 97 Dormant 51 disagree 237, career agree 86 Dormant 71 disagree 228, Period of residence agree 70 Dormant 31 disagree 284. Therefore, patronage system is a relationship between two parties with disproportionate social status. Together The superior Those who have more resources. More power Will stay as a patron. Party Lower than those with less resources. Or less powerful Will be in the support base. By both The parties seek mutual benefit in a reciprocal manner. Which depends on Voluntary of both parties. This type of relationship exists not just because the parties are different. Only benefit But there must be an ideology that helps maintain this relationship. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การเมืองการปกครอง | |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.22 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น