กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7230
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ ลิลา
dc.contributor.authorนิพา ตรีเสถียรไพศาล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:39:01Z
dc.date.available2023-05-12T03:39:01Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7230
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและประเมินรูปแบบการนิเทศการจัดการเรียนรู้ ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน: กรณีศึกษาโรงเรียนปทุมคงคา โดยมีวิธีดำเนินการวิจัย 2 ขั้นตอน คือ 1) พัฒนารูปแบบการนิเทศการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน: กรณีศึกษาโรงเรียน ปทุมคงคา ด้วยเทคนิค EDFR จากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 20 คน 2) ตรวจสอบรูปแบบการนิเทศ การจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน: กรณีศึกษาโรงเรียนปทุมคงคาด้วยการสนทนากลุ่มจากผู้เชี่ยวชาญและปฏิบัติงานในโรงเรียนปทุมคงคาจำนวน 8 คน สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่า มัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัย พบว่า 1. รูปแบบการนิเทศการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน: กรณีศึกษาโรงเรียนปทุมคงคา ประกอบด้วยกระบวนการ 8 ด้าน 68 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านการวิเคราะห์สภาพความต้องการการนิเทศ และการสร้างศรัทธา มี 9 องค์ประกอบ 2) ด้านการสร้างความตระหนัก มี 7 องค์ประกอบ 3) ด้านการพัฒนาทักษะการทำงานกลุ่ม มี 9 องค์ประกอบ 4) ด้านการเสริมสร้างประสบการณ์ทางวิชาชีพ และการสาธิตรูปแบบการสอน มี 13 องค์ประกอบ 5) ด้านการพัฒนาหลักสูตร มี 9 องค์ประกอบ 6) ด้านการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน มี 10 องค์ประกอบ 7) ด้านการร่วมคิดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มี 6 องค์ประกอบ และ 8) ด้านการติดตาม ประเมินผลตลอดกระบวนการมี 5 องค์ประกอบ แต่ละองค์ประกอบทั้ง 8 ด้าน มีค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่าง ควอไทล์ มากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 2. ผลการตรวจสอบรูปแบบการนิเทศการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน: กรณีศึกษาโรงเรียนปทุมคงคามีความเหมาะสมสามารถนำไปปฏิบัติได้และมีองค์ประกอบเหมือนกับองค์ประกอบที่สร้างขึ้นตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอน
dc.subjectการนิเทศการศึกษา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectโรงเรียนปทุมคงคา
dc.subjectการเรียนรู้
dc.subjectวิทยานิพนธ์?aปริญญาเอก
dc.titleรูปแบบนิเทศการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน : กรณีศึกษาโรงเรียนปทุมคงคา
dc.title.alternativeA model for instructionl supervision for bsic eduction school : cse study of Ptumkongk school
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to develop and evaluate a model for instructional supervision for basic education school, specifically for Patumkongka School. There are 2 steps in this research study; step1, developing the model of supervision for Patumkongka School by using EDFR technique with 20 experts, step2, examining the model of instruction at supervision by focus group discussion with experts who work at Patumkongka School. The data were analyzed using percentage, median, interquartile range and focus group. It was found that: 1. A model for instructional supervision in basic education school for Patumkongka School consisted of 8 tasks, and 68 factors, They were; 1) Analysis of needs for supervision and building faith 2) Raising awareness 3) Group development 4) Professional development and Demonstrating teaching model 5) Curriculum development 6) Action research in classroom 7) Knowledge sharing and 8) Monitoring throughout the process. Each tasks has mean and interquartile ranges better than the set criteria 2. The results of the validating of the model of instructional supervision of the school was that the model is valid and is appropriate for implementation and the model tasks were congruent with the experts’ opinion.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.72 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น