กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/722
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ทณุ เตียวรัตนกุล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:53:04Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:53:04Z | |
dc.date.issued | 2545 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/722 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลัก ๆ คือ 1) ศึกษาวิเคราะห์เอกสารและรายงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกลวิธีการเรียนรู้แบบผสานความร่วมมือโดยละเอียด 2) นำเสนอกลวิธีต่าง ๆ ในการเรียนการสอนแบบผสานความร่วมมือ 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติของผู้เรียนที่เรียนโดยกลวิธีการเรียนรู้แบบผสานความร่วมมือกับผู้เรียนที่เรียนโดยกลวิธีการเรียนรู้แบบผสานความร่วมมือกับผู้เรียนที่เรียนโดยกลวิธีการเรียนรู้แบบรายบุคคล 4) เปรียบเทียบพฤติกรรมของผู้เรียนที่เรียนโดยกลวิธีการเรียนรู้แบบผสานความร่วมมือกับพฤติกรรมของผู้เรียนที่เรียนโดยกลวิธีการเรียนรู้แบบผสานความร่วมมือ กับพฤติกรรมของผู้เรียนที่เรียนโดยกลวิธีการเรียนรู้แบบรายบุคคล โดยใช้วิธีการสุ่มนิสิตชั้นปีที่ 2 จากทุกคณะ และทุกสาขาวิชาเอก ของมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ที่เรียนวิชา English for Academic Purposes I จำนวน 64 คน มาเป็นกลุ่มตัวอย่าง และทำการแบ่งแยกเป็นกลุ่มทดลองที่เรียนด้วยกลวิธีการเรียนรู้แบบผสานความร่วมมือ จำนวน 32 คน และและกลุ่มควบคุมที่เรียนด้วยกลวิธีการเรียนรู้แบบรายบุคคล จำนวน 32 คน โดยคละกันอย่างเท่าเทียม ทั้งในด้านความสามารถ เพศ และวิชาเอก และทำการชี้แจงระบบการเรียน ทดสอบก่อนสอน ทดลองสอนเป็นระยะเวลา 1 ภาคเรียน และทดสอบหลังสอน จากนั้นได้ทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติของผู้เรียนโดยใช้ t-test รวมทั้งวิเคราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรมของผู้เรียน โดยใช้ความถี่ของการเกิดพฤติกรรมเป็นเกณฑ์ ปรากฎผลว่า 1.ผู้เรียนที่เรียนโดยใช้กลวิธีการเรียนรู้แบบผสานความร่วมมือ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงกว่า ผู้เรียนที่เรียนโดยใช้กลวิธีการเรียนรู้แบบรายบุคคล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผู้เรียนที่เรียนโดยใช้กลวิธีการเรียนรู้แบบผสานความร่วมมือ มีเจตคติต่อสภาพการเรียนการสอนดีกว่า ผู้เรียนที่เรียนโดยกลวิธีการเรียนรู้แบบรายบุคคล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผู้เรียนที่เรียนโดยใช้กลวิธีการเรียนรู้แบบผสานความร่วมมือ มีพฤติกรรมในการเรียนที่น่าพึงพอใจกว่าผู้เรียนโดยใช้กลวิธีการเรียนรู้แบบรายบุคคล The main purpose of this study were to (1) analyze document and studies concerning Cooperative Leaning, (2) present cooperative teaching strategies, (3) compare the achievement and attitudes of cooperative learning group with individualizaed learning group, and (4) observe,record,and compare the behaviours of cooperative learning group with individualized learning group. The 64 participants who studies English for Academic Purpose I were sampled from the second-year students, whose major and faculties were varied, of Burapha University, Chonburi. They were heterogeneously divided into an experimental group and a control group. Both group consisted of 32 participants. They were they were then told and demonstrated how to learn. Both group then took the pretest and the attiude survey questionnaire. Later they were taught for one semester. After that both group took the posttest and the attitude survey questionnaire. Finally their achievement and attiudes were analyzed and compared by t-test. Their behaviours were also analyzed by frequency occurrence.The findings were as follow:- 1.The participants in the cooperative learning group had significantly higher achievement than those in the individualized learning group at<.05. 2.The participants in the cooperative learning group had significantly better attitudes toeards the learning condition than those in the individualized learning group at <.05. 3.The participants in the cooperative learning group had more favourable behaviours than the individualized learning group . | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | ภาษาไทย. | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การทำงานกลุ่มในการศึกษา | th_TH |
dc.subject | การสอนรายบุคคล | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้ | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมการเรียน | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | การเรียนรู้แบบผสมผสานความร่วมมือกับการเรียนรู้แบบรายบุคคลผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้แบบรายบุคคลผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เจตคติ และพฤติกรรม | th_TH |
dc.title.alternative | Cooperative learning versus individuakized learning: Effects on achievements, attitudes, and behaviours | en |
dc.type | งานวิจัย | th_TH |
dc.year | 2545 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2568_076.pdf | 5.56 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น