กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7224
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุวิชัย โกศัยยะวัฒน์
dc.contributor.advisorธร สุนทรายุทธ
dc.contributor.authorรติพร แสนรวยเงิน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:39:00Z
dc.date.available2023-05-12T03:39:00Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7224
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มุ่งศึกษาการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาจีน ของนักเรียนมัธยมศึกษา ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ได้แก่ ครูสอนภาษาจีน และผู้บริหารฝ่ายวิชาการ ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต 6 จำนวน 101 คน และผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการจัดการเรียน การสอนภาษาจีน ของนักเรียนมัธยมศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 6 จำนวน 9 คน โดยใช้เทคนิคการประชุมสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) ตามมาตรฐานการเรียนรู้ภาษาจีนทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านภาษาเพื่อการสื่อสาร ด้านภาษาและวัฒนธรรม ด้านภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และด้านภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชน และโลก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดการเรียนการสอนภาษาจีน ของนักเรียนมัธยมศึกษาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. การจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาจีน ของนักเรียนมัธยมศึกษาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 ตามมาตรฐานการเรียนรู้ภาษาจีนทั้ง 4 ด้าน โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 3. ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนทั้ง 4 ด้าน ของนักเรียนมัธยมศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 ในแต่ละด้านมีดังนี้ 3.1 ด้านภาษาเพื่อการสื่อสาร นักเรียนที่เรียนภาษาจีนมีความสามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนเป็นภาษาจีนได้ แต่สามารถปฏิบัติได้แตกต่างกัน นักเรียนอื่นทั่วไปที่ไม่ได้อยู่ใน กลุ่มแผนศิลป์ภาษาจีน สามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนเป็นภาษาจีนได้น้อยว่ากลุ่มนักเรียน ที่เรียนอยู่แผนศิลป์ภาษาจีน 3.2 ด้านภาษาและวัฒนธรรม นักเรียนสามารถบอกเกี่ยวกับสิ่งใกล้ตัวเป็นภาษาจีนได้ แต่ในการวิเคราะห์ข่าว เหตุการณ์ หรือสรุปใจความสำคัญเป็นภาษาจีน อาจยากเกินไปในระดับ มัธยมศึกษา แต่ถ้าให้เวลานักเรียนในการปฏิบัติและฝึกฝนบ่อย ๆ นักเรียนก็สามารถทำได้ ส่วนด้าน วัฒนธรรมจีนพื้นฐานที่นักเรียนได้เรียนมา นักเรียนให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมและ ปฏิบัติตนได้เหมาะสมในการเข้าร่วมกิจกรรมตามโอกาสและความสนใจของนักเรียน 3.3 ด้านภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น นักเรียนทำได้ดีมาก ในเรื่องการอธิบายความเหมือนหรือความแตกต่างทางด้านภาษาระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทย ส่วนการนำภาษาจีนมาประยุกต์ให้เข้ากับชีวิตประจำวันนั้น นักเรียนสามารถปฏิบัติได้แต่ไม่ทุกคน จะได้มากน้อยเท่าไรขึ้นอยู่กับความรู้ของคำศัพท์ภาษาจีนของนักเรียนแต่ละคน แต่การนำภาษาจีน มาบูรณการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นนั้น หากนักเรียนมีการเตรียมตัวศึกษาค้นคว้าในสิ่งที่ครูสอน หรือสิ่งที่นักเรียนสนใจ นักเรียนก็สามารถปฏิบัติได้ 3.4 ด้านภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก นักเรียนสามารถสื่อสารโดยใช้ ภาษาจีนได้ในสถานการณ์จริง สามารถพูดคุย สนทนาพื้นฐานเป็นภาษาจีนในวงคำศัพท์ที่ได้เรียนมาได้ดี ส่วนการเผยแพร่หรือประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับโรงเรียนและชุมชนเป็นภาษาจีน ให้คนจีนทราบนั้นทำได้ยาก เพราะการที่จะสื่อสารกับเจ้าของภาษาให้รู้เรื่องและเข้าใจได้ นักเรียน ต้องสามารถออกเสียงหรือสำเนียงได้ถูกต้อง
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.titleการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาจีนของนักเรียนมัธยมศึกษาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6
dc.title.alternativeTeching nd lerning mngement of chinese lnguge for mtthyomsuks students of schools under the secondry eductionl service re office 6
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the teaching and learning management of Chinese language for Matthayomsuksa students of schools under the Secondary Educational Service Area Office 6. The sample of the study consisted of 101 Chinese teachers and academic administrators of schools under the Secondary Educational Service Area Office 6, together with 9 experts in teaching and learning management of Chinese language of schools under the Secondary Educational Service Area Office 6, by means of connoisseurship technique, based on 4 aspects of learning standards of Chinese language: Language for Communication, Language and Culture, Language and Relationship with Other Learning Areas, and Language and Relationship with Community and the World. Mean, and Standard Deviation were statistical devices employed for data analysis. The findings revealed as follows: 1. The teaching and learning management of Chinese language for Matthayomsuksa students of schools under the Secondary Educational Service Area Office 6, as a whole and in each particular aspect, was found at a high level. 2. The teaching and learning management of Chinese language for Matthayomsuksa students of schools under the Secondary Educational Service Area Office 6, based on 4 aspects of learning standards of Chinese language, as a whole, was found significantly different at the statistical level of .05. 3. Opinions of the experts in teaching and learning management of Chinese language for Matthayomsuksa students of schools under the Secondary Educational Service Area Office 6 towards each aspect of learning standards were as the following. 3.1 The aspect of Language for Communication: students were able to listen, speak, read and write in Chinese, but with different levels of performance; students who did not study in the Chinese Program were able to perform their listening, speaking, reading, and writing less than those studying in the Chinese Program. 3.2 The aspect of Language and Culture: students were able to tell about things around themselves; however, to analyze news, events, or summarize main ideas in Chinese might be too difficult for Matthayomsuksa level, but if with very frequent practice and performance, they would be able do it. Concerning basic Chinese culture students having learned, they participated well and behaved properly in cultural activities according to their own opportunities and interests. 3.3 The aspect of Language and Relationship with Other Learning Areas: students were able to do well in explaining similarities and differences between Chinese language and Thai language; however, not everybody could apply the use of Chinese in their daily life; their performance depended on their knowledge of Chinese vocabulary. As for integration of Chinese language with other learning areas, if students had preparation or study of what they had learned or paid interest in, they were able to do it. 3.4 The aspect of Language and Relationship with Community and the World: students were able communicate using Chinese in real situations and had basic conversation within the range of vocabulary they had learned. Nevertheless, to disseminate or publicize information about their school or community in Chinese to Chinese people was rather difficult for students because it is necessary for them to have correct pronunciation and accent.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.85 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น