กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7219
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorปริญญา ทองสอน
dc.contributor.advisorสิริยุพิน ศุภ์ธนัชภัคชนา
dc.contributor.authorจิณห์จุฑา ศิริเวชบุรี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:39:00Z
dc.date.available2023-05-12T03:39:00Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7219
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนโดยประยุกต์ใช้กระบวนการ เรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/ 80 2) เปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนหลังเรียน 3) ศึกษาทักษะ การแก้ปัญหา 4) ศึกษาเจตคติต่อการเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 โรงเรียนบ้านหินวง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวนนักเรียน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ชุดกิจกรรมการเรียนโดยประยุกต์ใช้กระบวนการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหา แบบวัด เจตคติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ ค่าที (t-test ) ผลการวิจัย พบว่า 1. ชุดกิจกรรมการเรียน โดยประยุกต์ใช้กระบวนการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ 82.33/ 82.89 2. คะแนนการเรียน ที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียน โดยประยุกต์ใช้กระบวนการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ทักษะการแก้ปัญหา ที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียน โดยประยุกต์ใช้กระบวนการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 4. เจตคติต่อการเรียน โดยประยุกต์ใช้กระบวนการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ภาพรวมเห็นด้วย อย่างยิ่ง ( = 4.72, SD = 0.48)
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
dc.subjectการเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน
dc.subjectพุทธศาสนา -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
dc.subjectวัฒนธรรม -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
dc.subjectสังคมศึกษา -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
dc.subjectการแก้ปัญหา -- กิจกรรมการเรียนการสอน
dc.titleการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนโดยประยุกต์ใช้กระบวนการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
dc.title.alternativeThe development of lerning ctivities pckges by pplying problem bsed lerning process to develop the problem solving skills on re of Socil Study, Relision nd Culture for Prthomsuks 5 Students
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were; 1) to develop ,learning activities packages by applying problem-based learning process to enhance the problem solving skills on area of social study, religion and culture for Prathomsuksa 5 students to meet the efficiency of 80/ 80, 2) to study the learning achievement of the student, 3) to study students’ problem solving ability and 4) to study students’ attitudes towards the learning. The sample consisted of 30 students in Pratomsuksa 5 in the first semester in academic year 2016 at BanHinwong school, Sattahip District, Chonburi Province, under the Office of Chonburi Primary Educational Service Area Office 3. They were selected by using cluster random sampling. The research instruments were the learning activities package leaning achievement test, problem solving test, attitudes test. The statistics used were percentage, mean, standard deviation and t-test. The results of the study were as follows: 1. The development of learning activities package by using application problem-based learning process for enhancing the problem solving skills on area of social study, relision and culture for Prathomsuksa 5 students had efficiency of = 82.33/ 82.89. 2 The post test scores of the students after being taught by the learning activities package was significantly higher than the pretest scores at the significant level of .05. 3. The ability to solve the problem of the students after being taught by the learning activities was significantly higher than that the 70 % criterion. 4. The attitudes of the students to learning with the package was mostly agree ( = 4.72)
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอน
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.31 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น