กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7148
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุเมธ งามกนก | |
dc.contributor.author | ปณิตา ชะบา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:33:35Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:33:35Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7148 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในบริหารงานวิชาการของครูผู้สอนในกลุ่มโรงเรียนบ้านฉางพัฒนา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 จำแนกตามวุฒิการศึกษา และประสบการณ์ของครูผู้สอนในกลุ่มโรงเรียนบ้านฉางพัฒนา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 จำนวน 153 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวตัวอย่าง ตามตารางของ เครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970, pp. 607-610) โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่าง แบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) ตามวุฒิการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง .25-.76 และความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (X) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. การมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการของครูผู้สอนในกลุ่มโรงเรียนบ้านฉางพัฒนา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 2. การเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการของครูผู้สอนใน กลุ่มโรงเรียนบ้านฉางพัฒนา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 จำแนกตามวุฒิการศึกษา โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ยกเว้นด้านการวัดผล ประเมินผลและเทียบโอนผลการเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ จำแนกตามประสบการณ์ โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | โรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหาร -- การมีส่วนร่วมของครู | |
dc.subject | ครูประถมศึกษา -- การบริหาร | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา | |
dc.title | การมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการของครูผู้สอนในกลุ่มโรงเรียนบ้านฉางพัฒนา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 | |
dc.title.alternative | Prticiption in cdemic dministrtion of techer in Bnchngpttn school group under Ryong Primry Eductionl Service Are Office 1 | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study and compare the participation in academic administration of teachers in Banchangpattana School group under Rayong Primary Educational Service Area Office 1. The sample used in this study was 153 teachers in Banchangpattana School group under Rayong Primary Educational Service Area Office 1. The number of sample was selected by stratified random sampling technique. The instrument was a 5 point-rating-scale questionnaire with the discriminative power between .25-.76 and an alpha reliability of .96. The statistics used in data analysis were Mean (X), standard deviation (SD), t-test and One-way ANOVA. The study results were as followings; 1. The participation in academic administration of teachers in Banchangpattana School group under Rayong Primary Educational Service Area Office 1 was at a high level in general and each aspect. The first three areas of participation in academic administration of teachers were quality assurance system development in school, the development of instructional media innovation and technology, and the developments of learning resource. 2. The results of the comparison of the participation in academic administration of teacher in Banchang School group under Rayong Primary Educational Service Area Office 1 classified by education level in overall and each aspect were not statistically significant, but the aspect of measurement evaluation and transfer of equivalent grades was statistically significant at .05 level and classified by experience level as a whole and each aspect were not significantly different. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารการศึกษา | |
dc.degree.name | การศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 754.33 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น