กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7146
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorชัยพจน์ รักงาม
dc.contributor.authorอธิป นามรักษ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:33:34Z
dc.date.available2023-05-12T03:33:34Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7146
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยนี้ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานวิชาการ ของกลุ่มโรงเรียนเครือข่ายปางสีดา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 จำแนกตามเพศ วุฒิการศึกษา และขนาดโรงเรียน ประชากรที้ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูผู้สอนในกลุ่มโรงเรียนเครือข่ายปางสีดา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 96 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้แบ่งเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป ลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบสำรวจรายการ (Check list) ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ การมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานวิชาการ ของกลุ่มโรงเรียนเครือข่ายปางสีดา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 ลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) จำนวน 45 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .27-.81 และค่าความเชื่อมั่น ทั้งฉบับ .95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ โดยหาค่าเฉลี่ย (μ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) และเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานวิชาการ วิเคราะห์ขนาดผลต่างของคะแนนเฉลี่ย (Effect size: ES) ผลการวิจัย พบว่า 1. การมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานวิชาการ ของกลุ่มโรงเรียนเครือข่ายปางสีดา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านสื่อการเรียนรู้ ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา และด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ ตามลำดับ 2. การเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานวิชาการ ของกลุ่มโรงเรียนเครือข่ายปางสีดา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 จำแนกตามเพศ ระหว่างเพศชายกับเพศหญิง โดยรวมและรายด้านทุกด้านไม่แตกต่าง จำแนกตามวุฒิการศึกษา โดยรวมและรายด้าน แตกต่างปานกลาง ยกเว้นด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้และด้านสื่อการเรียนรู้ แตกต่างกันน้อย และจำแนกตามขนาดโรงเรียน โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectโรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหาร -- การมีส่วนร่วมของครู
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectการบริหารการศึกษา
dc.subjectครูประถมศึกษา -- การบริหาร
dc.titleการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานวิชาการของกลุ่มโรงเรียนเครือข่ายปางสีดา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2
dc.title.alternativeThe prticiption of techers in Prngsrid school cluster under the office of Skeo primry eduction service re 2
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study and compare the participation of teachers working for the department of academic affairs administration in Prangsrida school cluster under the Office of Sakaeo Primary Education Service Area 2 as classified bygender, qualification and the size of their schools. The sample used in this study was 96 teachers in Prangsrida school cluster under the Office of Sakaeo Primary Education Service Area 2 in the 2016 academic year. The instruments used in this research were a survey list and a five-point scale questionnaire, with the item discriminative power between .27-.81 and the reliability of .95. The statistics used to analyze the data were Mean ( ), Standard Deviation (SD), and Effect size (ES). This study revealed that: 1. The participation of teachers working for the department of academic affairs administration in Prangsrida school cluster under the Office of Sakaeo Primary Education Service Area 2as a whole and each aspect was at a high level. They are put in order from high to low as the following:Learning management, Learning Measurement and Evaluation, Learning media, Quality Assurance of education, and Curriculum development. 2. The comparison of the participation of teachers working for the department of academic affairs administration in Prangsrida school cluster under the Office of Sakaeo Primary Education Service Area 2 as classified by gender and the size of the schoolsas a whole and each aspect showed no statistical significant difference. This study also found that in the areas of Learning media and Curriculum development showed no statistical significant difference.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf704.43 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น