กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7138
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุเมธ งามกนก
dc.contributor.authorยินดี ฉ่ำสดใส
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:33:32Z
dc.date.available2023-05-12T03:33:32Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7138
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการนิเทศภายในกับผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษาในกลุ่มโรงเรียนศรีราชา 5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 3 โดยได้เปิดตารางการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวยอ่างของเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970, pp. 607-610) กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย จำนวนบุคลากรทางการศึกษาทั้งสิ้น 80 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลครั้งนี้เป็น แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) โดยแบ่งเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับการนิเทศภายใน มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .30 ถึง .76 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .93 และตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษา มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .24 ถึง .70 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ คะแนนเฉลี่ย ( X ) ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และสหสัมพันธ์อย่างง่าย (Simple correlation) ผลการวิจัยพบว่า 1. การนิเทศภายใน ในกลุ่มโรงเรียนศรีราชา 5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 3 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากโดยเรียงอันดับจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ ด้านการปฏิบัติการนิเทศ ด้านการวางแผนการนิเทศ และด้านการประเมินผลการนิเทศ 2. ผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษา ในกลุ่มโรงเรียนศรีราชา 5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 3 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากยกเว้น ด้านคุณลักษณะการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงอันดับจากมากไปหาน้อยอันดับแรก ได้แก่ ด้านคุณลักษณะการปฏิบัติงาน และอันดับสุดท้าย คือ ด้านผลงานและการสอน 3. การนิเทศภายใน (X)โดยรวม มีความสัมพันธ์มีความสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษาในกลุ่มโรงเรียนศรีราชา 5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชลบุรีเขต 3 (Y) ในระดับค่อนข้างสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 การนิเทศภายใน ด้านการศึกษาสภาพปัจจุบัน (X1 ) มีความสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษาในกลุ่มโรงเรียนศรีราชา 5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 3 (Y) ในระดับค่อนข้างสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 การนิเทศภายในด้านการประเมินผลการนิเทศ (X4 ) มีความสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษาในกลุ่มโรงเรียนศรีราชา 5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 3 (Y) ในระดับปานกลางอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 การนิเทศภายในด้านการรายงานผลการนิเทศ (X5 ) มีความสัมพันธ์มีความสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษาในกลุ่มโรงเรียนศรีราชา 5 สังกัดสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 3 (Y) ในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 การนิเทศภายใน ด้านการปฏิบัติการนิเทศ (X3 ) มีความสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษาในกลุ่มโรงเรียนศรีราชา 5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 3 (Y) ในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 การนิเทศภายในด้านการวางแผนการนิเทศ (X2 ) มีความสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษาในกลุ่มโรงเรียนศรีราชา 5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชลบุรีเขต 3 (Y) ในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectการศึกษา -- ไทย -- ชลบุรี
dc.subjectการนิเทศการศึกษา
dc.subjectการสอน
dc.subjectบุคลากรทางการศึกษา -- ไทย -- ชลบุรี
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการนิเทศภายในกับผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษาในกลุ่มโรงเรียนศรีราชา 5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3
dc.title.alternativeA study of reltion between the internl supervision nd job chievement performnce of techers in Sirch district under primry eduction re office 3
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study the relationship between the internal supervision and job achievement performance of teachers in Sriracha school group under Chonburi primary educational service area office 3. The samplesof this study were 80 teachers at the group of Sriracha school. The research instrument was a five-rating-scale, it was divided into 2 parts. Part 1 questionnaires on the internal supervision, with the discrimination power between .30 - .76, and the reliability at .93 Part 2 questionnaires on the Job achievement performance of teachers, with the discriminationpower of .24 - .70, and the reliability at .89Statistical device used for analyzing the data were Mean, Standard Deviation and Simple Correlation. The findings were as follows; 1. The Internal supervision of teachers in Sriracha school group under Chonburi primary educational service area office 3 in all and each aspect were at high levels ranging from supervisions, the planning and supervision and the evaluation of supervision, respectively. 2. The Job achievement performance of the teachers in all and each aspect were at high levels; except, the performance characteristics were at highest levels, respectively ranging from performance characteristics, the work and teaching. 3. The internal supervision (X) had relationship with Job achievement performance (Y) at highest levels withstatistically significant difference at .01 level. ช The internal supervision of the current state of education (X1 ) had relationship with Job achievement performance of the teachers (Y) at highest levels, with statistically significant difference at .01 level. The internal supervision of the supervision and the evaluation (X4 )had relationship with Job achievement performance (Y) at moderate levels with statistically significant difference at .01 level. The internal supervision of the supervision report (X5 ) had relationship with Job achievement performance (Y) at moderate levels with statistically significant difference at .01 level. The internal supervision of the supervision (X3 ) had relationship with job achievement performance (Y) at moderate levels with statistically significant difference at .01 level. The internal supervision of the supervision planning (X2 )had relationship with Job achievement performance (Y) at moderate levels with statistically significant difference at .01 level.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.17 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น