กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/711
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวรวุฒิ เพ็งพันธ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:53:03Z
dc.date.available2019-03-25T08:53:03Z
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/711
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบกิจกรรมในรายวิชาตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาและศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนตามแนวคิดจิตปัญญาศึกษา ในรายวิชาการศึกษากับสังคม จากนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษาจำนวน 30 คน โดยผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจังเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ประกอบด้วย การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม การจดบันทึก และรายงานการตนเองของผู้เรียน การวิเคราะห์ข้อมูงโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis). สรุปผลการวิจัย 1. รูปแบบกิจกรรมในรายวิชาทั้ง 6 กิจกรรม ซึ่งมีความสอดคล้องกับเนื้อหาในรายวิชาทั้ง 6 บทเรียน สามารถนำกิจกรรมตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษามาใช้ ได้แก่ สุนทรียสนทนา (Dialogue) การฟังอย่างลึกซึ้ง (Deep Listening) การเขียนบันทึก (Journaling) และการสะท้อนความคิดรายบุคคลและเป็นกลุ่ม (Self and group reflection) 2. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาทั้ง 6 กิจกรรม พบว่า คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษามี 4 ด้านคือ ด้านทักษะมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านโลกทัศน์หรือการมองโลกและชีวิต ด้านพฤติกรรม และด้านจิตใจ ตามลำดับth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 2553en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการศึกษา - - ปรัชญาth_TH
dc.subjectการเรียนรู้ (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectจิตตปัญญาศึกษาth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนจากกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา: กรณีศึกษารายวิชาการศึกษากับสังคมth_TH
dc.title.alternativeA study of desirable aharacteristics of students under the contemplative education concept : a case study in education and society courseen
dc.typeResearch
dc.year2553
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this reserch was to study learning activities model and to study of desirable characteristics of students under the contemplative education concept in education and society course by using the sample group from 30 educational technology students. The researcher used the qualitative research methodology;participation observation,journaling,self assessment report (SAR) and data analysis in content. Research finding were as follows: 1. The six activities of learning activies model in this course are related to the content of six lessons. The contemplative education concept in dialogue, deep listening, journaling and self and group thinking feedback can be applied to them. 2. The results of six activities under the contemplative education concept are shown that the students have four desirable characteristics. They are skills, world view or life view, behavior and mentality, respectivelyen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น