กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7110
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.advisorสถาพร พฤฑฒิกุล
dc.contributor.authorชญาภา ศรีเหลือง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:33:25Z
dc.date.available2023-05-12T03:33:25Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7110
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและเปรียบเทียบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของผู้บริหารโรงเรียนกลุ่มบางละมุง 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 จำแนกตามวุฒิการศึกษา วิทยฐานะ และขนาดโรงเรียน และศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูในโรงเรียนกลุ่มบางละมุง 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 จำนวน 143 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) มีค่าอำนาจจำแนก .30-.89 และค่าความเชื่อมั่น .98 และแนวทางการพัฒนา การบริหาร โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์แบบทางเดียว (One-way ANOVA) ทดสอบรายคู่โดยวิธี Scheffe’ method ความถี่และร้อยละ ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของผู้บริหารโรงเรียนกลุ่มบางละมุง 3 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้น ด้านหลักการกระจายอำนาจ อยู่ในระดับมาก 2. เปรียบเทียบปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของผู้บริหารโรงเรียนกลุ่มบางละมุง 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 จำแนกตามวุฒิการศึกษา วิทยฐานะ และขนาด โรงเรียน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. แนวทางการพัฒนาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของผู้บริหารโรงเรียนกลุ่มบางละมุง 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 หลักการกระจายอำนาจ สถานศึกษาควรให้ครู และผู้ที่เกี่ยวข้องร่วมกันกำหนดหลักสูตรสถานศึกษา และหลักสูตรท้องถิ่นตามความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชน ด้านหลักการมีส่วนร่วม สถานศึกษาควรเปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดทำสาระสำคัญหลักสูตรสถานศึกษากับความต้องการบริบทของโรงเรียนและท้องถิ่น ด้านหลักการคืนอำนาจ การจัดการศึกษาให้แก่ประชาชน คณะกรรมการสถานศึกษาควรมาจากตัวแทนกลุ่มต่าง ๆ อย่างหลากหลาย ด้านหลักการบริหารตนเอง ผู้บริหารสถานศึกษา ครูคณะกรรมการสถานศึกษาควรจัดระบบการบริหารงาน ด้านวิชาการ งบประมาณ บุคคล และบริหารทั่วไป ด้านหลักการตรวจสอบและถ่วงดุล สถานศึกษาควรดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องร่วมกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งการประกันคุณภาพในและการประกันคุณภาพ ภายนอก
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectโรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหาร
dc.subjectการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.titleปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของผู้บริหารโรงเรียนกลุ่มบางละมุง 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3
dc.title.alternativeProblems nd guidelines development of school-bsed mngement in Bnglmung Cluster 3 under the Chonbury Eductionl Service Are Office 3
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to study the problems and compare the school-based management exercised by the school directors in Banglamung cluster 3 under the Chonburi Primary Educational Area Office 3 as classified by education, academic standing, and school size, and 2) to study guidelines for the development of school-based management administration. The sample of this research include of 148 teachers in Banglamung cluster 3 under the Chonburi Primary Educational Area Office 3. The research instrument employed for the data collection was a set of 5 rating-scale questionnaires which the discrimination level was .30-.89 and the coefficient reliability was 98. The statistics used for analyzing data were mean, standard deviation, t-test and One-way ANOVA, Schcffe’s method, frequency and percentage. The results of the study were as follow: 1. The problems of school-based management in Banglamung cluster 3 under the Chonburi Primary Educational Service Area Office 3, overall and each aspect, were rated at a medium level, except in the area of decentralization which was rated at a high level. 2. Problems of school-based management in Banglamung cluster 3 under the Chonburi Primary Educational Service Area Office 3 classified by education, academic sanding and school size, overall and each aspect, were significantly different at the .05 level. 3. The guidelines for the development of school-based management in Banglamung cluster 3 under the Chonburi Primary Educational Area Office3 were reported as follows: decentralization: schools should encourage teachers and stakeholders to participate and help set school curriculum, and local curriculum based on the needs of the learners, parents and communities, the participation: schools should open opportunities for the community to participate in the provision of school curriculum materials to the needs of school and local, the power in educational management and the school board should come from a wide range of representatives, the self-management: school administrators, teachers, school board should set up academic affairs, budget, personnel and general administration, checking and balancing: school should take a serious action to conduct education quality assurance and get help from all parties these should be done for ensuring both internal quality assurance and external quality assurance.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต.ม.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.93 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น