กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7083
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เชษฐ์ ศิริสวัสดิ์ | |
dc.contributor.advisor | ปริญญา ทองสอน | |
dc.contributor.author | ปฏิวัติ จันทนุกูล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:33:20Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:33:20Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7083 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ความสามารถในการแก้ปัญหา และจิตวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่าง การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิต “พิบูลบำเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 2 ห้องเรียน ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 1 ห้องเรียน และได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 1 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัด การเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา แบบวัดจิตวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ซึ่งผลการวิจัยเป็นดังต่อไปนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .05 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .05 3. จิตวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .05 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน | |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ | |
dc.subject | วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | |
dc.title | เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ความสามารถในการแก้ปัญหาและจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ | |
dc.title.alternative | A comprison of lerning chievement in Science, problem solving bility, nd scientific mind of Mttyomsuks 3 students using problem-bsed lerning with using trditionl lerning mngements | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to compare Scientific Learning achievement, concerning problem solving and Scientific mind of Mattayomsuksa 3 students learning through problem-based learning and traditional learning managements. The participants in this study were Mattayomsuksa 3 students in the second semester of the 2016 academic year at Piboonbumpen Demonstration School, Burapha University. The sampling, was done by using Cluster Random Sampling. The samples were divided into 2 classes: One class for the experimental group consisted of 36 students that was instructed by problem-based learning and other class for the control group consisted of 34 students who were instructed by traditional learning management. The research instruments were lesson plans based on problem-based learning, lesson plans based on traditional learning management, learning achievement test, ability of problem solving test, and Scientific mind inventory. The data were analyzed by using mean, standard deviation, and t-test. The findings of this research are as follows: 1. The students learning achievement, after they were taught by traditional learning management, was higher than the students were taught by problem-based learning at the .05 significant level. 2. The student’s problem solving ability, after they were taught by problem-based learning, was higher than the students who were taught by traditional learning management at the .05 significant level. 3. The scientific mind of students, after they were taught by problem-based learning management, was higher than the students who were taught by traditional learning management at the .05 significant level. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การสอนวิทยาศาสตร์ | |
dc.degree.name | การศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.46 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น