กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7077
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุรัตน์ ไชยชมภู
dc.contributor.authorอรณิช เกิดแก้ว
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:33:19Z
dc.date.available2023-05-12T03:33:19Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7077
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารสถานศึกษาจากการประยุกต์ใช้ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ครูโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 90 คน โดยเปิดตารางกำหนดกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie and Morgan เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง ซึ่งเป็นเครื่องมือเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ จำนวน 40 ข้อ โดยมีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง .33-.71 และค่าความเชื่อมั่น ของแบบสอบถามทั้งฉบับ เท่ากับ .95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และสถิติ t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารสถานศึกษาจากการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน บดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 โดยรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2. เปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาจากการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 6 จำแนกตามเพศ และวุฒิการศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. เปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาจากการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 6 จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้น ด้านการบริหารงานวิชาการ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ ทางสถิติ
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียง
dc.subjectโรงเรียนมัธยมศึกษา -- การบริหาร
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน
dc.titleการบริหารสถานศึกษาจากการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6
dc.title.alternativeThe ppliction of school dministrtion nd the sufficiency economy philosophy in Bodindech (Sing Singhseni) Smutprkrn School under the Secondry Eductionl Service Are Office 6
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objective of the study was to study application of the sufficiency economy philosophy in school administration of Bodindecha (Sing Singhaseni), Samutprakarn Province under the Secondary Educational Service Area Office 6. The samples used in this study was 90 teachers. The number of sample was suggested based on Krejcie and Morgan’s sampling size table. The data collection instrument in this study was a five-post-rating-scale questionnaire asking 40 questions. The discriminant power value of this study was between .33-.71 and the reliable value was .95. The statistics for data analysis were Percentage (%), Mean ( ), Standard Deviation (SD) and t-test. The research finding were as follows; 1. The application of the sufficiency economy philosophy in school administration in Bodindecha (Sing Singhaseni) Samutprakarn School was found at a high level both as a whole and in each aspect. 2. The comparison of the application of the sufficiency economy philosophy in school administration in Bodindecha (Sing Singhaseni) Samutprakarn School which were classified by gender and educational level as a whole and each aspect were statistically significant difference at .05 level. 3. The comparison of the application of the sufficiency economy philosophy in school administration in Bodindecha (Sing Singhaseni) Samutprakarn School which were classified by work experience as a whole and each aspect were statistically significant difference at the level of .05, except the aspect of academic administration which was not statistically significant difference.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.46 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น