กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7051
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุรัตน์ ไชยชมภู
dc.contributor.advisorสมศรี ทองนุช
dc.contributor.authorสุรเชษฐ เดชประสิทธิ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:29:39Z
dc.date.available2023-05-12T03:29:39Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7051
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อสมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 316 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อสมรรถนะการบริหาร งานวิชาการ และสมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา แบบมาตราประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งทั้งสองฉบับมีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .30-.75 และ .30-.65 และค่าความเชื่อมั่น .94 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณ และสร้างสมการถดถอยเพื่อพยากรณ์ตัวแปรตาม โดยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 โดยรวมและรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก 2. สมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 โดยรวมและรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก 3. ปัจจัยการบริหารที่สัมพันธ์กับสมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 โดยรวมมีความสัมพันธ์กันในทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลสมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 มีเพียง 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยด้านความเชื่อมั่นในตนเอง ปัจจัย ด้านภาวะผู้นำ และปัจจัยด้านเจตคติ ร่วมกันทำนายตัวแปรทำให้มีอำนาจพยากรณ์เป็นร้อยละ 28.00 (R2 = 0.280) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 โดยสามารถสร้างสมการถดถอยในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ Y = 1.32 + .285 (X3) + .193 (X1) + .194 (X2) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน Z = .250 (X3) + .183 (X1) + .178 (X2)
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectสมรรถนะ
dc.subjectการศึกษาขั้นประถม
dc.subjectการศึกษา -- ไทย -- ระยอง
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน -- ไทย -- ระยอง
dc.subjectการบริหารการศึกษา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารการศึกษา
dc.titleปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อสมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1
dc.title.alternativeThe dministrtive fctors ffecting cdemic dministrtion competencies of school dministrtors under Ryong primry eductionl service re 1
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were; 1) to explore the administration factors affecting academic administration competencies of school administrators under Rayong Primary Educational Service Area 1. The samples were 316 teachers under Rayong Primary Educational Service Area1 of academic year 2016. The research tool was a set of 5 rating scale questionnaires on administrative factors which affect academic administration and administrative competencies of school administrators. The questionnaires discrimination were between .30 to .75 and .30 to .65 and the reliability were .94 and .92 respectively. Data were analyzed for mean, standard deviation, Pearson product moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysis. The result were that; 1. The administrative factors of school administrators under Rayong Primary Educational Service Area1 were found at high level. 2. The educational administrative competencies of school administrators under Rayong Primary Educational Service Area1 in overall was in high level. 3. The administrative factors which related to academic administration competencies of school administrators under Rayong Primary Educational Service Area1 in overall had moderately positive relation with statistical significant at .01 level 4. The administrative factors which affected academic administration competencies of school administrators under Rayong Primary Educational Service Area1 composed of 3 factors that were the best dependent variables that increase 28% (R2 = 0.280) of power to predict academic administration competencies of school administrators on self-confident factor, leadership factor, and attitude factor., with statistic significant at .05 level, which could be able to create regression equation both with raw score and standard score as followings: Raw score predicting equation Y = 1.32 + .285 (X3) + .193 (X1) + .194 (X2) Standard score predicting equation Z = .250 (X3) + .183 (X1) + .178 (X2)
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.03 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น