กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/704
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เกรียงศักดิ์ พราหมณ์พันธุ์ | th |
dc.contributor.author | อภิวัฒน์ ห่อเพชร | th |
dc.contributor.author | อำพิกา สวัสดิ์วงศ์ | th |
dc.contributor.author | ธีรพงษ์ ภูริปาณิก | th |
dc.contributor.author | สุรีย์พร ปั้นเป่ง | th |
dc.contributor.author | ศิริพร รูปเล็ก | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:53:03Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:53:03Z | |
dc.date.issued | 2547 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/704 | |
dc.description.abstract | เกาะสีชังจัดเป็นเกาะที่มีศักยภาพในการท่องเที่ยวหลายรูปแบบ นอกจากจะอยู่ไม่ไกลจากฝั่งของอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรีแล้ว เกาะสีชังยังเป็นจุดที่เหมาะสมในการพัฒนาพื้นที่ในด้านการเป็นจุดแวะพักพื่อหลบพายุของเรือขนาดใหญ่ที่กินน้ำลึก สามารถใช้ในการขนถ่ายสินค้าเพื่อลงเรือขนาดเล็ก การท่องเที่ยวและกิจกรรมต่างๆของเกาะมีเกือบตลอดปี เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ เพราะมีแหล่งท่องเที่ยวด้านโบราณสถาน ศาสนาและศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สวยงามสงบเงียบ การพัฒนาเกาะสีชังให้เป็นสภานที่ท่องเที่ยวในระดับที่เป็นที่ยอมรับจากคนภายนอกหรือให้เป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลได้นั้น ต้องขึ้นอยู่กับความร่วมมือร่วมใจของชาวเกาะซึ่งเมื่อมีการร่วมกลุ่มกันช่วยดูแลในเรื่องต่างๆที่ตนถนัดหรือมีความสัมพันธ์กับสัมมาอาชีพของตน ก็จะเกิดการรวมตัวเป็นชมรมหรือคณะกรรมการเฉพาะกิจ ที่จะดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนด้านการบริการนักท่องเที่ยวที่มาแวะพักผ่อน ชื่นชมกับธรรมชาติที่เกาะทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ให้เกิดความประทับใจและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จักได้ ในการศึกษายังพบว่าจำนวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามายังเกาะสีชังบางส่วน ยังไม่ทราบถึงรายละเอียดของสถานที่ท่องเที่ยวอย่างครบถ้วน จึงเชื่อได้ว่าถ้ามีการประชาสัมพันธ์อย่างจริงจังก็จะทำให้การท่องเที่ยวเกาะสีชังเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายเป็นผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวของตำบลได้ จากการศึกษาวิจัยได้ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมของกลุ่มชาวบ้าน โดยได้มีการจัดประชุมสัมนาของชาวเกาะสีชัง ผลของการประชุมก่อให้เกิดกลุ่มกิจกรรมแบบของการมีส่วนร่วม 3 กลุ่ม คือ กลุ่มสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ กลุ่มโบราณสถานและศิลปวัฒนธรรมและกลุ่มผู้ประกอบการบริการ ทั้ง 3 กลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มที่ช่วยกันพัฒนากิจกรรมและกิจการท่องเที่ยว โดยได้เสนอแนะแนวทางในการจัดทำโครงการต่างๆ ให้สอดคล้องกับลักษณะความเป็นอยู่และทรัพยากรการท่องเที่ยว โดยคำนึงระบบนิเวศน์การท่องเที่ยวของเกาะสีชังเป็นสำคัญให้ยั่งยืนได้ ทั้งนี้เทศบาลหรือองค์กรของรัฐควรให้ความสนใจ ผลักดันให้เกิดการพัฒนาอย่างเต็มที่และเต็มความสามารถ ในการพัฒนากิจกรรมท่องเที่ยวสิ่งสำคัญก็คือ ความร่วมมือร่วมใจของประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ ควรช่วยกันจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสมในการพัฒนาให้เกาะสีชังเป็นที่ท่องเที่ยวที่ดีที่สุดของภาคตะวันออกและของประเทศไทยต่อไป | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การท่องเที่ยว - - แง่เศรษฐกิจ | th_TH |
dc.subject | การท่องเที่ยว | th_TH |
dc.subject | การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ - - ชลบุรี | th_TH |
dc.subject | สาขาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว | th_TH |
dc.subject | เกาะสีชัง (ชลบุรี) | th_TH |
dc.subject | โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) : กรณีศึกษา เกาะสีชัง อำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Potentiality development of sustainable tourism one tambon one product : case study KaoSrichang, amphur Kaosrichang, Chonburi province | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2547 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น