กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7041
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทิพย์เกสร บุญอำไพ | |
dc.contributor.advisor | พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ | |
dc.contributor.author | ภัทรพร ภูมาศ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:29:37Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:29:37Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7041 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการรู้สารสนเทศของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา มีวัตถุประสงค์เฉพาะ ดังนี้ 1) ศึกษาองค์ประกอบของระบบการสอน 2) ทดสอบประสิทธิภาพของระบบการสอน 3) ประเมินการรู้สารสนเทศของนิสิต 4) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียน 5) ศึกษาความพึงพอใจต่อกระบวนการจัดกิจกรรมการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการรู้สารสนเทศ และ 6) ประเมินและรับรองระบบการสอนจากผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษาและด้านการออกแบบการสอน จำนวน 10 คน 2) นิสิตปริญญาตรี จำนวน 61 คนซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) ระบบการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการรู้สารสนเทศของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบประเมินการรู้สารสนเทศ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนิสิตต่อระบบการสอน และ 5) แบบประเมินและรับรองระบบการสอน โดยผู้ทรงคุณวุฒิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ (E / E ) ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า 1. ระบบการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการรู้สารสนเทศของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์ 2) การวางแผนการสอน 3) การสนับสนุนผู้เรียน 4) การจัดกิจกรรมการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน 5) การประเมินผล และ 6) การตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไข 2. ผลการทดสอบประสิทธิภาพของระบบการสอนฯ E / E เท่ากับ 85.35/ 87.59 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 3. ผลการประเมินการรู้สารสนเทศของนิสิตหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. นิสิตมีความก้าวหน้าทางการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 5. นิสิตมีความพึงพอใจต่อกระบวนการจัดกิจกรรมการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการรู้สารสนเทศ อยู่ในระดับมากที่สุด 6. ผลการประเมินและรับรองระบบการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการรู้สารสนเทศของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา จากผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในระดับเหมาะสมมาก | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | กิจกรรมการเรียนการสอน (อุดมศึกษา) | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา | |
dc.subject | นักศึกษา -- กิจกรรมการเรียนการสอน | |
dc.subject | การสอนแบบโครงงาน | |
dc.title | การพัฒนาระบบการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการรู้สารสนเทศของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.title.alternative | Development of project-bsed instructionl system for enhncing informtion litercy of undergrdute students of Burph University | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to develop the Project-Based Instructional System for Enhancing Information Literacy of undergraduate students of Burapha University. The specific purpose were 1) to study the components of the instructional system; 2) to study the developmental test of the instructional system; 3) to evaluate students’ learning of information literacy of; 4) to study the students’ learning progress 5) to study the satisfaction of students toward the learning activities; and 6) to assess and certify the qualifications system from the educational experts. The samples used in this research were 1) 10 educational technology specialists and instructional design specialists 2) 61 undergraduate students who were selected by Multi-stage sampling. The research instruments were: 1) the system prototype; 2) an achievement test; 3) information literacy assessment forms; and 4) students’ satisfaction questionnaire. The data was analyzed by the use of E / E Mean, Percentage, Standard Deviation, and t-test dependent. Major Findings: 1. The Project-based Instructional System for Enhancing Information Literacy of undergraduate students studying at Burapha University composed of six components: 1) Analysis 2) Teaching plan 3) Supporting Learners 4) Project-based Teaching 5) Evaluation and 6) Inspection and Improvement. 2. Development testing of The Project-Based Instructional System for Enhancing Information Literacy for under graduate student’s Burapha University was E / E = 85.35/ 87.59 which meet the criterion set. 3. The students’ information literacy was high at the statistically significant of .01 level. 4. The students have achievement progress at the statistically significant of .01 level. 5. The satisfaction of students towards the learning activities were mostly satisfied. 6. The assessment and certification of the qualifications system from the educational experts were found highly appropriate. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีการศึกษา | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 5.71 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น