กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7014
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorธนวิน ทองแพง
dc.contributor.advisorสมุทร ชำนาญ
dc.contributor.authorณัฎฐา ยะคะเรศ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:29:32Z
dc.date.available2023-05-12T03:29:32Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7014
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาเขตคุณภาพที่ 12 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 ประสิทธิผลของโรงเรียนในเขตคุณภาพที่ 12 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนในเขตคุณภาพที่ 12 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การวิจัย คือ ครูโรงเรียนในเขตคุณภาพที่ 12 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 จำนวน 108 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า เกี่ยวกับการใช้อํานาจในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง 0.22-0.74 และค่าความเชื่อมั่น 0.92 และแบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลของโรงเรียน มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง 0.46-0.79 และค่าความเชื่อมั่น 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์โดย การหาค่าเฉลี่ย (Xˉ ) ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และวิเคราะห์โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ เพียร์สัน (Pearson, s product moment correlation) ผลการวิจัยพบว่า 1. การใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาในเขตคุณภาพที่ 12 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. ประสิทธิผลของโรงเรียนในเขตคุณภาพที่ 12 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 3. ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียน ในเขตคุณภาพที่ 12 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 โดยรวมและ รายด้านมีความสัมพันธ์กันทางบวก อยู่ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน
dc.subjectโรงเรียน -- การบริหาร
dc.subjectบุคลากรทางการศึกษา
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนในเขตคุณภาพที่ 12 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2
dc.title.alternativeThe reltionship between the empowerment of dministrtors nd school effectivenessin qulity re 12 under the office of Chchoengso primry eductionl service re office 2
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of research was to study the relationship while using the power of school administrators and the effectiveness of schools in quality district 12 under the office of Chachoengsao primary education area 2. The research samples were including school teachers in the 12th grade school district under the office of Chachoengsao primary education area 2. Academic year 2016. 108 peoples. by stratified random sampling. The research instrument was 5-level rating scale questionnaire on the use of the power of the school administrators which the discriminative between .22-.74 and reliability was .92. School effectiveness which the discriminative between .46-.79 and reliability was .95. The statistics used to analyze the data are mean (Xˉ ), standard deviation (SD), and Pearson’s product moment correlation coefficient. The study showed that; 1. The power of the administrators of the 12th grade school under the office of Chachoengsao primary education area 2 were rated at the high level. 2. The effectiveness of schools of the 12th grade school under the office of Chachoengsao primary education area 2 were rated at the high level. 3. The relationship while using the power of school administrators (X) and the school effectiveness (Y) in quality district 12 under the office of Chachoengsao primary education area 2 was positive correlation, with high level. at .05 statistically significant (p < .05).
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.49 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น