กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6998
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมุทร ชำนาญ | |
dc.contributor.advisor | สุรัตน์ ไชยชมภู | |
dc.contributor.author | มานิดา โสมณวัฒน์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:27:10Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:27:10Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6998 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจการบริหาร ของผู้บริหารกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนในตำบลคลองกิ่ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ข้าราชการครู โรงเรียน ในตำบลคลองกิ่ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 โดยใช้เกณฑ์กำหนด กลุ่มตัวอย่างจากตารางกำหนดขนาดของ เครจซี่ และมอร์แกน ( Krejcie & Morgan, 1970) ได้กลุ่มตัวอย่าง 48 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ ของลิเคอร์ท (Likert, 1961) แบ่งเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการใช้อำนาจการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในตำบลคลองกิ่ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 จำนวน 48 ข้อ โดยมีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ ระหว่าง .57-.96 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ .89 และตอนที่ 2 เกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนในตำบลคลองกิ่ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 จำนวน 24 ข้อ โดยมีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .47-.86 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ .86 ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และวิเคราะห์โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. การใช้อำนาจการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในตำบลคลองกิ่ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก 2. แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนในตำบลคลองกิ่ว สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก 3. ผลวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจการบริหารของผู้บริหารกับแรงจูงใจ ในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนในตำบลคลองกิ่ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชลบุรี เขต 1 โดยรวมมีความสัมพันธ์กันทางบวก ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิต ที่ระดับ .05 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา | |
dc.subject | ผู้บริหารโรงเรียน | |
dc.subject | โรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหาร | |
dc.subject | ครู -- ความพอใจในการทำงาน | |
dc.subject | การจูงใจในการทำงาน | |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจการบริหารของผู้บริหารกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนในตำบลคลองกิ่ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 | |
dc.title.alternative | The reltionl between dministrtive power using nd thecher job performnce in extended opportunity eductionl school sub re Klongkiew under Chonburi Primry Eductionl Service Are Office 1 | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to study the relationship betweenthe use of powermanagement of administrators andthe motivation of teachersperfume their jobs school in Klonggiewdistrict under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1. The sample of this study were 48 staff drawn from stratified Random Sampling and the select were by Krejcie & Morgan Method. The research instrument was a five-rating-scaledivided into 2 parts. Part 1 the questionnairethe use of powermanagement of administrators in the school in Klonggiew district under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1 and thispart of the 48 items; the item administrationpower waslather .57-.96 and the reliability was at .89 Part 2 the questionnaireseeded for the motivation ofteachers toperfume their jobs in the school of Klonggiew district under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1 and this part of the questionnaire contained 24 items; the item administration power was between .47 and .76 the reliability was at .86 Statistical devices used for analyzing the data are Mean, Standard Deviation, and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient. The findings revealed as follows. 1. The use of power management of administrators in School inKlonggiew District under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1; in general and each aspect was rate at a high level 2. The motivation of Teachersto perfume their jobs in school inKlonggiewDistrict under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1; in general and each aspect was rate at a high level 3. The finding revealed about the relationship between the use of powermanagement of administrators and the motivation of teachersto perfume their jobs in schools in Klonggiew District under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1; in general showed a positive relationship and statistically significantlevel at .05 level. It was rate at a medium level. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารการศึกษา | |
dc.degree.name | การศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 598.78 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น