กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6967
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สฎายุ ธีระวณิชตระกูล | |
dc.contributor.author | อรทิพย์ โคตะวินนท์ | |
dc.contributor.other | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:27:03Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:27:03Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6967 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจบริหารของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนในสหวิทยาเขตเมืองชลบุรี 3 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูปฏิบัติการสอน ในโรงเรียนสหวิทยาเขตเมืองชลบุรี 3 สังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 จำนวน 146 คน โดยใช้การการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) ตามขนาดของสถานศึกษา ได้กลุ่มตัวอย่างเป็นครูปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาขนาดใหญ่ 101 คน โรงเรียนขนาดกลาง 34 คน และโรงเรียนขนาดเล็ก 11 คน รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 146 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ อยู่ระหว่าง .27-.82 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ .96 สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ คะแนนเฉลี่ย ( ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation) ผลการวิจัยพบว่า 1. การใช้อำนาจบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนในสหวิทยาเขตเมืองชลบุรี 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับด้านที่มีค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ อำนาจความเชี่ยวชาญ อำนาจให้รางวัล อำนาจอ้างอิง อำนาจตามกฎหมาย และอำนาจการบังคับ 2. แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนในสหวิทยาเขตเมืองชลบุรี 3 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัย พบว่า อยู่ในระดับมาก ทั้งสองปัจจัย โดยเรียงลำดับปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ปัจจัยจูงใจ ปัจจัยค้ำจุน 3. ผลการวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจบริหารของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจ ในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนในสหวิทยาเขตเมืองชลบุรี 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 มีความสัมพันธ์กัน (r = .81) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเป็นความสัมพันธ์ระดับสูงในทิศทางเดียวกัน (ทางบวก) | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา | |
dc.subject | ผู้บริหารโรงเรียน | |
dc.subject | โรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหาร | |
dc.subject | ครู -- ความพอใจในการทำงาน | |
dc.subject | การจูงใจในการทำงาน | |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจบริหารของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนในสหวิทยาเขตเมืองชลบุรี 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 | |
dc.title.alternative | The reltionship between the use of power of school dministrtors nd job motivtion of techers in shwittykt chonburi 3 under Chonburi Primry Eductionl Service Are Office 1 | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of the research were to examine the relationship the use of power of school administrators and job motivation of teaches in Sahawittayakat Chonburi 3 under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1. The sample group using the research consisted of 146 teachers teaching in Stratified Random Sampling of Sahawittayakat school Chonburi 3 under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1. 101 teachers were from the large schools, 34 teachers were from medium schools, and 11 teachers were from small schools. The tool used in this research was a questionnaire. Its discriminating power was between .23 to .82 and the reliability was at .96. Statistics used for analyzing the data included Means, Standard Deviations and Pearson’s product moment correlation. The results of the study were as follow: 1. The use of power of school administrators in Sahawittayakat school Chonburi 3 under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1 was found at a high level both in general and each aspect ranging from high to low, this study reported: Expert Power, Reward Power, Legitimate Power, Compel Power. 2. The job motivation of school teachers in Sahawittayakat school Chonburi 3 under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1 to study. The range of Means factor from high to low was motivation factor and maintenance factor. 3. The relationship between the use of power of school administrators and the job motivation of teachers in Sahawittayakat school Chonburi 3 under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1 was found positive relationship (r = .81) and it was statistically significantly at .05 level. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารการศึกษา | |
dc.degree.name | การศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.94 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น