กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6940
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมโภชน์ อเนกสุข | |
dc.contributor.advisor | ดุสิต ขาวเหลือง | |
dc.contributor.author | นิตยา กลมกลิ้ง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:25:11Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:25:11Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6940 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมเพื่อศึกษาย้อนรอยประสบการณ์ของผู้เรียนที่ใช้สร้าง ความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาชิ้นงาน เปรียบเทียบผลการย้อนรอยประสบการณ์ของผู้เรียนตาม ระดับความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาชิ้นงาน และพัฒนาชุดกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ ประสบการณ์ผู้เรียนเพื่อสร้างความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาชิ้นงาน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน สาขาวิชาการออกแบบ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 และครูผู้สอนสาขาวิชาการออกแบบ ใน สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา การศึกษาเชิงคุณภาพผู้ให้ข้อมูลเป็น นักเรียน 27 คน ครูผู้สอน 9 คน การศึกษาเชิงปริมาณตัวอย่างเป็นนักเรียน 298 คน ครู 78 คน การ พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนการสอน เป็นครู 2 คน นักเรียน 20 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล เป็น แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กําหนด สถิติ ที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ ความแปรปรวนพหุ ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสบการณ์ของผู้เรียนที่ใช้สร้างความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาชิ้นงานของนักเรียน สาขาวิชาการออกแบบ ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางครอบครัว ค่านิยมทางวิชาการ ค่านิยมทางเศรษฐกิจ ค่านิยมทางปกครอง ค่านิยมทางสังคม วัฒนธรรมทางครอบครัวและวัฒนธรรมทางสังคม ผลการใช้ ประสบการณ์ของนักเรียนต่อการออกแบบผลิตภัณฑ์แสดงออกในรูปแบบของเส้นตรง รูปแบบ เรขาคณิต และประโยชน์ใช้สอยอเนกประสงค์ 2.ผลการเปรียบเทียบการย้อนรอยประสบการณ์ของผู้เรียนตามระดับความคิดสร้างสรรค้ ในการพัฒนาชิ้นงาน พบว่า ประสบการณ์ที่ใช้สร้างความคิดสร้างสรรค์ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ชุดกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ประสบการณ์ผู้เรียนเพื่อสร้างความคิด สร้างสรรค์ในการพัฒนาชิ้นงานมี 6 ชุดกิจกรรม คือ 1) การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม 2) พัฒนา พื้นฐานความคิดสร้างสรรค์กับการออกแบบชิ้นงาน 3) พัฒนาความคิดสร้างสรรค์กับการออกแบบ ชิ้นงาน 4) พัฒนาทักษะการออกแบบชิ้นงานสร้างสรรค์ 5) จิตอาสา และ 6) การประเมินผลรวม | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การศึกษาทางอาชีพ | |
dc.subject | การออกแบบ -- การศึกษาและการสอน | |
dc.subject | อาชีวศึกษา -- การศึกษาและการสอน | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา | |
dc.title | การบูรณาการผลการศึกษาย้อนรอยประสบการณ์ผู้เรียนสู่การเรียนการสอนเพื่อสร้างความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาชิ้นงานของนักเรียน สาขาวิชาการออกแบบระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ | |
dc.title.alternative | The integrtion experience of students on expost fcto study to develop cretive thinking for interior design student t voctionl certificte level | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research was the mixed methods research which has three objectives: 1) to study Students’ expost facto experiences those affected creative thinking in their products design, 2) to compare the Students’ expost facto experiences those affected creative thinking in their products design, and 3) to develop an instructional package on students’ experiences for creative thinking development in their product design. The samples were vocational certificate students and teachers majoring interior design. The qualitative data were from key informants who were 27 students and 9 teachers. The quantitative data were from the sample groups of 298 students and 78 teachers. To develop an instructional package 20 students and 2 teachers were used. The instruments were observation, interview, and questionnaires. The statistics used for quantitative data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and multivariate analysis of variance (MANOVA). The qualitative data analysis the content analysis and inductive analysis were used. The research findings were summarized as follows: 1. The students’ experience affected on creative thinking with their product design including: Family Environmental, Academic Value, Economic Value, Domination Value, Social Value, Family cultural, and Social Cultural, These experiences have shown in form of vertical line, geometry shapes and multipropose useful. 2. In comparison of the Students’ expost facto experience, they were found that there was statistically significant difference at .05 level in overall. 3. An instructional package on students’ experiences for creative thinking development in their products design composed of 6 packages including: 1) moral and ethics development, 2) fundamental of creative thinking and product design, 3) develop creative thinking and products design, 4) develop skills for design and creative products, 5) volunteer spirit, and 6) summative evaluation. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | วิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา | |
dc.degree.name | ปร.ด. | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 4.23 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น