กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/693
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | บุญเชิด หนูอิ่ม | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:53:02Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:53:02Z | |
dc.date.issued | 2542 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/693 | |
dc.description.abstract | ในการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมของปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล ในพื้นที่พัฒนาชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ได้กำหนดวัตถุประสงค์ไว้ 4 ประการ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเข้าร่วมสัมมนา ฝึกอบรมเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมกับความตระหนักและการมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ประการที่สอง เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับสื่อเอกสารที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมกับความตระหนักและการมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ประการที่สาม เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความตระหนักและการมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ประการที่สี่ เพื่อศึกษาวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความตระหนักและการมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม กลุ่มเป้าหมายเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลในพื้นที่จังหวัดชลบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดระยอง จำนวน 121 ตัวอย่างคิดเป็นร้อยละ 60 ของปลัดองค์การบริการส่วยตำบลในพื้นที่ศึกษาทั้งหมด การวิเคราะห์ข้อมูลได้ใช้โปรแกรม SPSS ช่วยในการวิเคราะห์ โดยใช้สถิติได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน (ค่าไค-สแควร์ และค่าเปียร์ซัน) ผลการศึกษา พบว่า การเข้าร่วมสัมมนา ฝึกอบรม และการมีเอกสารต่างๆ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม จะมีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม อย่างมีนัยสำคัญ (ที่ระดับ 0.05) แต่จะไม่มีความสัมพันธ์กับความตระหนักในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม อย่างมรนัยสำคัญสำหรับการวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล เช่น เพศ สถานภาพสมรส ระดับตำแหน่ง การเข้ามาในตำแหน่ง และพื้นที่ทำงาน ไม่มีความแตกจ่างต่อความตระหนักในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม และการเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม แต่ปัจจัยด้านการศึกษา จะมีความแตกต่างต่อการมีส่วนร่วมใรการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.description.sponsorship | สนับสนุนงบประมาณเงินรายได้คณะมนุษยศาสตร์และสังคมสาสตร์ปีงบประมาณ 2542 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม - - การมีส่วนร่วมของปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล | th_TH |
dc.subject | การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม - - ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก | th_TH |
dc.subject | ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก - - สิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.subject | ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล | th_TH |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมของปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลในพื้นที่พัฒนาชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก | th_TH |
dc.title.alternative | Factor related to the participation in environmental conservation of sub-district administrative organization's permanent secretaries in Eastern Seboard Region | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2542 | |
dc.description.abstractalternative | In case study of factor related to the participation in environmental conservation of subdistrict administrative organization's permanent in Eastern Seaboard Region, which have create 4 purpose to study therelativity among the seminar and training about environment asministration, awareness and participation about environment conservation. The second purpose is to study about relativity among information receiving which concern to study about relativity among awareness with participation for environment conservation. The fourth to study analyze ditter between personal factor ehich have an effect to an awareness and participation for environment conservation. The target groups of sub-district administrative organization's permanent secretaries in Chonburi, Chachoengsao and Rayong for and amount of 121 cases as 60% of all area,which have been study of sub-district administrative organization's permanent secretaries. SPSS program was use for data analysis by using the statistics such as frequency, percentage, average, standard deviation and hypothesis assumption (Chi-Square, Pearson). After studying, we have found that pacification in seminar taining and having information environment will have relativity with pacification for environment conservation at 0.05 level but no relativity factor such as sex, marital status, position, promote to the position and work area. It has no differ to awareness for environment conservation and pacification. But education factor will have and differ to pacification environment conservation. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น