กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6938
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเพ็ญนภา กุลนภาดล
dc.contributor.advisorประชา อินัง
dc.contributor.authorสุพิชฌาย์ เพ็ชรสดใส
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:25:09Z
dc.date.available2023-05-12T03:25:09Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6938
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมดุลงานและสมดุลครอบครัว ของบุคคลวัยทำงาน 2) เพื่อพัฒนาสมดุลงานและครอบครัวของบุคคลวัยทำงานโดยการปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เป็นบุคคลวัยทำงานอายุตั้งแต่ 25-45 ปี ทำงานในบริษัทเอกชน ในเขตภาคตะวันออก แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 จำนวน 705 คน ใช้ในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมดุลงานกับสมดุลครอบครัวของบุคคลวัยทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ 2 จำนวน 20 คน สุ่มอย่างง่ายเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 10 คน กลุ่มทดลองได้รับการพัฒนาสมดุลงานและครอบครัวโดยใช้ การปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการ ดำเนินการปรึกษากลุ่มจำนวน 12 ครั้ง ๆ ละ 90 นาที กลุ่มควบคุมใช้ชีวิตประจำวันตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดสมดุลงานและครอบครัวที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดโดยสูตรสัมประสิทธ์อัลฟ่า (α-Coefficient Reliability) เท่ากับ 0.83 และ การปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง .06-1.0 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสมดุลงานกับสมดุลครอบครัว และการวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. สมดุลครอบครัวส่งผลทางตรงต่อสมดุลงานได้ร้อยละ 41 และสมดุลงานส่งผลทางตรง ต่อสมดุลครอบครัวได้ร้อยละ 62 โดยได้มีการดำเนินการปรับแก้ (Adjust Model) แบบจำลองสมการโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสมดุลงานกับสมดุลครอบครัวของบุคคลวัยทำงาน ที่มีความกลมกลืน กับข้อมูลเชิงประจักษ์ในระดับที่ยอมรับได้ ซึ่งพิจารณาจากดัชนีความกลมกลืน (Fit Index) จาก 2= 26.97 df = 22, p-value = .21250, 2 / df = 1.22, RMSEA = .018, RMR = .0046, SRMR = .014, CFI = 1.00, GFI = .99, AGFI = .98, CN = 1017.91 2. สมดุลงานและครอบครัวของกลุ่มทดลองที่ได้รับรูปแบบการปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการ มีคะแนนในระยะก่อนการทดลอง หลังการทดลองและระยะติดตามแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 3. สมดุลงานและครอบครัวของกลุ่มทดลองที่ได้รับรูปแบบการปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการและกลุ่มควบคุมมีคะแนนระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา
dc.subjectการทำงานและครอบครัว
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงาน
dc.titleการพัฒนาสมดุลงานและครอบครัวของบุคคลวัยทำงานโดยการปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการ
dc.title.alternativeThe development of work-fmily blnce of working dults through integrtive group counseling
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were, 1) to study the relationship between the work balance and the family balance of the working adults, 2) to develop the work balance and the family balance with the integrative group counseling. The samples used were working adults aged 25-45 years old who are working in private companies in the eastern region. They were divided into 2 groups. The first group was 705 persons who were used for studying the relationship between the work balance and the family balance. The second group was 20 persons who were who randomly assigned to experimental group and control group. The experimental group had participated in the integrative group counseling programs 12 sessions of 90 minutes each. The control group went with normal daily living. The instruments were the work-family balance scale developed by the researcher with the reliability at 0.83 and the integrative group counseling model with a consistency index at .06-1.00 The statistics were an analysis of the correlation between the work balance and the family balance, and an analysis of variance with repeated measures. The results were as follows. 1. The family balance directly affected the work balance by 41% and the work balance directly affected the family balance by 62%. The hypothesized structural equation model of the work balance and the family balance was adjusted, resulting the level of goodness of fit index with 2= 26.97 df = 22 p-value = .21250, 2 / df = 1.22, RMSEA = .018, RMR = .0046, SRMR = .014, CFI = 1.00, GFI = .99, AGFI = .98, CN = 1017.91. 2. The work balance and the family balance of the experimental group who participated in the program at the pre-test period, post-test and follow-up were statistically significantly different at .05 level. 3. The work balance and the family balance of the experimental group and the control group in the pre-test period, post-test and follow-up were statistically significantly different at .01 level.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการปรึกษา
dc.degree.nameปร.ด.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf3.77 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น