กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6937
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ระพินทร์ ฉายวิมล | |
dc.contributor.advisor | ชมพูนุท ศรีจันทร์นิล | |
dc.contributor.author | พัชรี ถุงแก้ว | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:25:09Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:25:09Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6937 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการปรึกษากลุ่มเชิงจิตวิทยาแบบบูรณาการเชิงทฤษฎี และศึกษาการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ต ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของกลุ่มทดลอง โดยเปรียบเทียบในระยะเส้นฐาน ระยะทดลอง และระยะติดตามผล ใช้แบบแผนการทดลอง ABF และมีกลุ่มควบคุม (ABF control group design) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสวายจีกพิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งมีพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นระยะเวลามากกว่า 3 ชั่วโมงติดต่อกันต่อครั้ง และมีคะแนนการเสพติดอินเทอร์เน็ตอยู่ในระดับ 50-100 คะแนน จำนวน 24 คน สุ่มเข้ากลุ่มโดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 12 คน และกลุ่มควบคุม 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดพฤติกรรมเสพติดอินเทอร์เน็ต (Young’s internet addiction test; YIAT20) มีค่า ความเชื่อมั่นเท่ากับ .86 แบบบันทึกพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตและโปรแกรมการปรึกษากลุ่มเชิงจิตวิทยาแบบบูรณาการเชิงทฤษฎีต่อการเสพติดอินเทอร์เน็ตของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย การทดลองแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะก่อนทดลอง ระยะทดลอง และระยะติดตามผล โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบบูรณาการเชิงทฤษฎีที่พัฒนาขึ้น สัปดาห์ละ 2 ครั้ง จำนวน 9 สัปดาห์ รวมเป็น 17 ครั้ง ครั้งละ 60 นาที และกลุ่มควบคุมไม่ได้รับโปรแกรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Independent t-test เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตระยะก่อนทดลองและ หลังทดลองของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ผลการวิจัยพบว่า ในระยะหลังการทดลอง กลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษากลุ่มเชิงจิตวิทยาแบบบูรณาการเชิงทฤษฎีจะมีคะแนนพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตของกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษากลุ่มเชิงจิตวิทยาแบบบูรณาการเชิงทฤษฎีในระยะทดลองและระยะติดตามผลลดลงกว่าระยะเส้นฐาน | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา | |
dc.subject | การให้คำปรึกษา -- แง่จิตวิทยา | |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา -- การให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม | |
dc.subject | อินเทอร์เน็ต | |
dc.title | การปรึกษากลุ่มเชิงจิตวิทยาแบบบูรณาการเชิงทฤษฎีต่อการเสพติดอินเทอร์เน็ตของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย | |
dc.title.alternative | The theoreticl integrtive group counseling for internet ddiction mong upper secondry school students | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to examine the effects of using the integrated theoretical psychological counseling program, and to study behavior changes in internet addiction behavior among upper secondary school students in baseline, experimental and follow-up, using ABF control group design. Twenty-four students, who reported spending time on internet more than three straight hours a day and had a range scores between 50-100 on the internet addiction test (YIAT20), they were randomly assigned into intervention group (n = 12) and control group (n = 12). Over a 6-week period, intervention group subjects were offered seventeen group counseling sessions. The outcome measurement was Young’s internet addiction test (YIAT20), with an alpha coefficient of .86. The instruments were Young’s internet addiction test (YIAT20), internet addiction record and the integrated theoretical psychological counseling program. The data were analyzed for mean, standard deviation and independent t-test comparison of mean scores of internet addiction between experimental and control groups. The results were that; The post period of the experimental group receiving the integrated theoretical psychological counseling program had a lower internet addiction score than the control group statistically significant at the .05 level. The experimental group receiving the integrated theoretical cognitive counseling program had lower internet addiction behavior than the control group at both the experimental and follow-up stages statistically significant at the .05 level. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาการปรึกษา | |
dc.degree.name | ปร.ด. | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 4.98 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น