กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6914
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorวิมลรัตน์ จตุรานนท์
dc.contributor.advisorสิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์
dc.contributor.authorมงคล พลเยี่ยม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:25:03Z
dc.date.available2023-05-12T03:25:03Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6914
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความ ก่อนและหลัง การจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังกราฟิกร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และเพื่อศึกษาเจตคติต่อการเรียนโดยใช้ผังกราฟิกร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 ของฝ่ายการศึกษานานาชาติขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสาธิต “พิบูลบำเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 17 คน โดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ความสามารถในการอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยใช้ผังกราฟิกร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คำนวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการทดสอบค่า t พบว่า 1. ความสามารถในการอ่านจับใจความหลังการเรียนรู้โดยใช้ผังกราฟิกร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. เจตคติต่อการเรียนโดยใช้ผังกราฟิกร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยโดยรวม อยู่ในระดับดีมาก
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการอ่านขั้นประถมศึกษา
dc.subjectภาษาไทย -- การอ่าน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
dc.titleความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยใช้ผังกราฟิกร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
dc.title.alternativeReding comprehension bility of prthomsuks 5 students lerning by grphic orgnizers nd coopertive lerning thi subject group
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were; to compare Prathomsuksa 5 students' reading comprehension ability and to study the students’ attitude toward reading comprehension before and after using graphic organizers and cooperative learning in Thai subject group. They were selected by Cluster Random Sampling method. The sample group consisted of 17 Prathomsuksa 5 students from the International Education Program (IEP), Piboonbumpen Demonstration School, studying in the second semester of academic year 2016. The collected data were analyzed by percentage, arithmetic mean ( ), standard deviation (SD), and t-test. The findings were as follows: 1. Reading comprehension ability after being taught using graphic organizers and cooperative learning in Thai subject group was higher than that before being taught at the .01 level of significance. 2. Students' attitude towards learning by using graphic organizers and cooperative learning in Thai subject group was at very good level
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอน
dc.degree.nameกศ.ม.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.54 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น