กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6896
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุษณากร ทาวะรมย์ | |
dc.contributor.author | สุพจน์ เพ็ชรคง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:25:00Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:25:00Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6896 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เกี่ยวข้องกับ การท่องเที่ยว และศึกษาแนวทางในการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาจากเอกสาร การสำรวจพื้นที่ และทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 3 คน คือ เจ้าหน้าที่ฝ่ายกิจการพลเรือ เจ้าหน้าที่ฝ่ายกิจการท่องเที่ยว และเจ้าหน้าที่ฝ่ายการรักษาความปลอดภัย ซึ่งสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยใช้เกณฑ์การคัดเลือก คือ อายุงานในพื้นที่ 2 ปี (พ.ศ. 2559-2560) และตำแหน่งงานที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวในพื้นที่ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ฝ่ายกิจการพลเรือ เจ้าหน้าที่ฝ่ายกิจการท่องเที่ยว และเจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความปลอดภัย ทำการวิเคราะห์ข้อมูลความถูกต้อง ความแม่นยำ ความเที่ยงตรงของข้อมูลและนำข้อมูลมาตรวจสอบความครบถ้วนด้วยเทคนิค แบบสามเส้า วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content analysis) ผลการศึกษาพบว่า สภาพแวดล้อมทางกายภาพของแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ พบว่า ทัศนียภาพของ แหล่งท่องเที่ยวมีความสวยงาม และมีความเป็นธรรมชาติ ภูมิทัศน์ของแหล่งท่องเที่ยวมีองค์ประกอบที่หลากหลาย ได้แก่ ป่าไม้ ภูเขา ทะเล อาคารและสิ่งก่อสร้างที่มีความกลมกลืนต่อกัน สำหรับแนวทางในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว พบว่า ต้องทำการพัฒนาเพิ่มเติมสภาพแวดล้อมทางกายภาพในหลายส่วนเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับนักท่องเที่ยว ได้แก่ สร้างทางเดินเท้าเพิ่มเติม สร้างเส้นทางจักรยาน และพื้นที่จอดรถจักรยาน กำหนดบริเวณที่พักคอยสำหรับนักท่องเที่ยว สร้างห้องน้ำห้องส้วมสำหรับนักท่องเที่ยวโดยกำหนดพื้นที่ให้ชัดเจน ปรับปรุงไฟฟ้าและแสงสว่างในบริเวณที่ยังไม่มี นอกจากนี้ ในการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพของแหล่งท่องเที่ยว ต้องคำนึงถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรทางธรรมชาติควบคู่กับการพัฒนา เพื่อให้ส่งเสริมให้เป็น แหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามและยั่งยืนตลอดไป | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) | |
dc.subject | การท่องเที่ยว -- แง่สิ่งแวดล้อม | |
dc.subject | การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ -- ไทย -- ชลบุรี | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน | |
dc.subject | ค่ายทหาร -- ไทย -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว | |
dc.subject | ค่ายกรมหลวงชุมพร (ชลบุรี) | |
dc.subject | อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ | |
dc.title | แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวในพื้นที่หน่วยบัญชาการนาวิกโยธินกองทัพเรือ (ค่ายกรมหลวงชุมพร) | |
dc.title.alternative | Developing guidelines for physicl environment relting to tourism in the re of royl thi mrine corps, Royl Thi Nvy (prince of chumphon cmp) | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this qualitative study were to examine physical environment relating to tourism and to investigate guidelines for developing this tourism area. This study examined relevant documents, conducted a field survey, and an in-depth interview with three key informants. These subjects were recruited by a purposive sampling technique from the divisions of naval civil affairs, tourism, and security. The selecting criteria for these subjects were that they needed to work in the area of naval civil affairs, tourism, and security for at least two years (2016-2017). The collected data were verified for their validity, reliability, and accuracy by a triangulation technique. Also, a technique of content analysis was used to analyze the data. The results of the study were as follows: It was found that the physical environment, especially in the tourism area, was beautiful and natural. In this area, there were forests, mountains, sea, and buildings that complimented each other. Regarding the developing guidelines, more facilities, including pavements, bike lanes, and parking lots, should be provided for tourists. Also, a waiting area for tourists should be designated, and more toilets should be clearly assigned and available for tourists. In addition, electricity should be improved and provided for tourists. Finally, environment conservation should be taken into consideration when developing this physical environment since it would help to make this tourism area a beautiful and sustainable tourist attraction spot. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน | |
dc.degree.name | รป.ม. | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 3.57 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น