กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6886
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorประชุม รอดประเสริฐ
dc.contributor.advisorสถาพร พฤฑฒิกุล
dc.contributor.authorพุทธชาด แสนอุบล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:21:51Z
dc.date.available2023-05-12T03:21:51Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6886
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสภาพ ปัญหา และแนวทางการปรับปรุงการนิเทศภายในโรงเรียน มัธยมศึกษา 4 ด้าน ซึ่งประกอบด้วย การวางแผนเตรียมการ การดำเนินการปฏิบัติตามแผน การกำกับ ตรวจสอบการปฏิบัติการ และการปรับปรุงแก้ไขการดำเนินการ ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ครูผู้สอน จำนวน 276 คน และผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 13 คน เครื่องมือการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามแบบ มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แบบสอบถามแบบเลือกตอบ และแบบสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา สถิติที่ใช้ในการนำเสนอข้อมูล ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าวิกฤติที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และค่าฉันทามติ ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. สภาพการดำเนินการการนิเทศภายในของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ โดยรวมและทุกรายด้าน สามารถปฏิบัติได้จริงในระดับมาก 2. ปัญหาสำคัญของการดำเนินการการนิเทศภายในของโรงเรียนด้านการวางแผนเตรียมการ ได้แก่ ครูขาดความเข้าใจ และไม่ตระหนักรู้ต่อกระบวนการนิเทศภายใน แนวทางการปรับปรุงแก้ไขประเด็นนี้ ด้วยการประชุม ชี้แจง และอบรมครูให้ทราบถึงกระบวนการ และความสำคัญของการนิเทศภายใน 3. ปัญหาสำคัญของการดำเนินการการนิเทศภายในด้านการดำเนินการปฏิบัติตามแผน ได้แก่ ครูไม่ให้ความสำคัญกับกิจกรรมการนิเทศภายใน และโรงเรียนไม่มีคู่มือให้ครูปฏิบัติ แนวทางการปรับปรุง แก้ไขประเด็นนี้ ได้แก่ ดำเนินการกำกับติดตามผลการนิเทศ และจัดทำคู่มือให้ครูได้ยึดถือเป็นแนวทาง ในการปฏิบัติ 4. ปัญหาสำคัญของการดำเนินการการนิเทศภายในด้านการกำกับตรวจสอบการปฏิบัติการ เกี่ยวข้องกับการดำเนินการนิเทศไม่เป็นไปตามปฏิทินการปฏิบัติงาน และครูขาดการเตรียมความพร้อม เพื่อรับการนิเทศ แนวทางการปรับปรุงแก้ไขประเด็นดังกล่าว โดยปรับการปฏิบัติงานให้มีความยืดหยุ่น และมีคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน 5. ปัญหาสำคัญของการดำเนินการการนิเทศภายในด้านการปรับปรุงแก้ไขการดำเนินการ เกี่ยวข้องกับโรงเรียนไม่นำผลการนิเทศภายในปรับปรุงและพัฒนางานการบริหารโรงเรียน แนวทาง การปรับปรุงแก้ไขประเด็นนี้ โดยให้คณะกรรมการดำเนินการนิเทศภายในรายงานผลการนิเทศต่อผู้บริหาร และผู้บริหารนำผลการนิเทศเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการการพิจารณาความดีความชอบประจำปีของครู
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการนิเทศการศึกษา
dc.subjectโรงเรียนมัธยมศึกษา -- การบริหาร
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.titleสภาพ ปัญหา และแนวทางการปรับปรุงการนิเทศภายในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20
dc.title.alternativeSttes, problems nd improving guidelines of internl eduction supervision in Secondry Schools under the Office of Secondry Eduction Service Are XX
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe study aimed at examining the standing circumstances, obstacles and improving issues of four aspects (Plan, Do, Check, Act) of internal education supervision in secondary schools under the jurisdiction of the Office of Secondary Education Service Area XX. Respondents were of 276 schools teachers and 13 school principals. Data collection had done through the rating-scale and checklist questionnaires. Statistical devices used for data analysis were mean, standard deviation, frequency, percentage, t-test, one-way analysis of variance, and the consensus values. The findings were as follows; 1. The standing circumstances, in total and each aspect of school internal supervision were rated at the highly practice. 2. Lack of understanding and awareness in internal supervision procedures of school teachers were considered as main obstacles of the PLAN. Guidelines for improving the obstacles should be done through teachers’ workshop and school conference. 3. Unawareness and lacking of handbook for school teachers were considered as main obstacles of DO. Guidelines for improving the obstacles should be done through follow-up supervision process and providing handbook for school teachers. 4. Unclear schedules and unreadiness of teachers were considered as the main problems of CHECK. Guidelines for improving these matters should be done through making schedules flexible and providing handbook. 5. Ignorant of internal supervision outcomes for school administration considered as the main problems of ACT. Guidelines for improving this aspect should be done by school administrators accepting the supervision outcomes as a data for yearly meritorious salary promotion of school teachers.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameกศ.ม.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf3.51 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น