กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6882
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สฎายุ ธีระวณิชตระกูล | |
dc.contributor.author | ขวัญตา บาลโสง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:21:50Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:21:50Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6882 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกับประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากร กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนที่ 43(5) สำนักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูและลูกจ้าง กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนที่ 43(5) สำนักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2559 รวม 103 คน จำแนกเป็น ครู 85 คน และลูกจ้าง 18 คน โดยใช้ตารางกำหนดขนาดของ Krejcie and Morgan (1970, p. 608) โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) ตามตำแหน่ง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) แบ่งเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 เกี่ยวกับแบบสอบถามเกี่ยวกับบรรยากาศองค์การของกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนที่ 43(5) จำนวน 50 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกทั้งฉบับเท่ากับ .28-.86 และค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .95 ตอนที่ 2 เกี่ยวกับแบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรของ กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนที่ 43(5) จำนวน 29 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกทั้งฉบับเท่ากับ .25-.82 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) ผลการศึกษาพบว่า 1. บรรยากาศองค์การของกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนที่ 43(5) สำนักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านโครงสร้าง ด้านมาตรฐาน การปฏิบัติงาน ด้านความรับผิดชอบ ด้านการให้รางวัล ด้านความภักดีต่อองค์การ ด้านความอบอุ่น ด้านความเสี่ยง ของงาน และด้านความขัดแย้ง ตามลำดับ 2. ประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากร กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนที่ 43(5) สำนักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านคุณภาพของลักษณะส่วนตัว ด้านปริมาณงาน ด้านความร่วมมือกับผู้อื่น ด้านคุณภาพงาน ด้านความรู้ เกี่ยวกับงาน ด้านมีความน่าไว้วางใจ และด้านมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตามลำดับ 3. ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกับประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากร กลุ่มเครือข่าย โรงเรียนที่ 43(5) สำนักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร โดยรวมมีความสัมพันธ์เชิงบวก ในระดับปานกลาง (r = .689) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | โรงเรียน | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา | |
dc.subject | สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน | |
dc.subject | การทำงาน | |
dc.subject | สภาพแวดล้อมการทำงาน | |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกับประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนที่ 43 (5) สำนักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร | |
dc.title.alternative | Reltionship between orniztionl climte nd personnel performnce efficiency of school cluster 43(5), Nongchok district office, Bngkok | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to investigate the relationship between organizational climate and effectivre work performanae of people working in school cluster 43(5), Nongchok District Office, Bangkok. The sample, derived by means of stratified random sampling using work position as a criterion. Based on Krejice and Morgan Table of Sample Size (1970, p. 608), participants in this study consisted of 85 teachers and 18 employees of school cluster 43(5), Nongchok District Office, Bangkok in the academic year 2016. A five-point-rating-scale questionnaire was used as data collection instrument. The questionnaire divided into two sections. Section 1 consisting of 50 items of questions surveying organizational climate of school cluster 43(5). The discriminating power in this section was between .28-.86 and its reliability was at .95. Section 2 of this guestionnaire consisted of 29 items of questions concerning effectire work performance of people working in school cluster 43(5), The discriminating power was between .25-.82 and the reliability was at .93. Mean, standard deviation, and Pearson's product moment correlation coefficient were statistical devices employed for the data analysis. The findings revealed as follows: 1. The organizational climate of school 43(5) cluster, Nongchok District Office, Bangkok, as a whole and in each particular aspect, was found at a high level. Ranked from moreto less average mean scores were the aspects of organizational structure, work standard , individual responsibility, rewards, organizational loyalty, warmth, risk taking, and conflicts, respectively. 2. Effectire work performance of people working in school 43(5) cluster, Nongchok District Office, Bangkok, both as a whole and in each particular aspect, was found at a high level. Ranked from more to less average mean scores were the aspects of quality of individual characteristics, work quantity, cooperativeness, work quality, knowledge of work, trust, and creativity. 3. The overall relationship between organizational climate and effective work performance of people working inschool cluster 43(5), Nongchok District Office, Bangkok was found positively related at a medium level (r = .689) with the statistically significant difference at the level of .05. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารการศึกษา | |
dc.degree.name | กศ.ม. | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.6 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น