กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6850
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ หิ้งทอง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:21:43Z
dc.date.available2023-05-12T03:21:43Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6850
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบปัญหาการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 จำแนกตามสาขาที่จบการศึกษา ประสบการณ์สอนในระดับปฐมวัย และขนาดของสถานศึกษา และศึกษาแนวทางการพัฒนา การจัดการศึกษาระดับปฐมวัยในสถานศึกษา ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการสร้างหลักสูตร ที่เหมาะสม ด้านการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ของเด็ก ด้านจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก ด้านประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก และด้านความสัมพันธ์ระหว่างบ้านและสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนระดับปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 จำนวน 159 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกของแบบสอบถามระหว่าง .28-.80 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .96 สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และทดสอบรายคู่โดยวิธี LSD ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัญหาการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2. เปรียบเทียบปัญหาการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 จำแนกตามสาขาวิชาที่จบการศึกษา ขนาดของสถานศึกษา และจำแนกประสบการณ์ในการสอนระดับปฐมวัย โดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. แนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 ด้านการสร้างหลักสูตรที่เหมาะสม ควรจัดประสบการณ์ให้เหมาะสมกับความต้องการ ด้านการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก ควรจัดสภาพแวดล้อมที่สนองความต้องการ ความสนใจ และพัฒนาการของเด็ก ด้านการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก ควรส่งเสริมกระบวนการสังเกตการฟัง และการกล้าแสดงออก ด้านประเมินพัฒนาการและ การเรียนรู้ของเด็ก ควรประเมินพัฒนาการเด็กอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ และด้านความสัมพันธ์ระหว่าง บ้านและสถานศึกษา สถานศึกษาควรแจ้งข่าวสารต่าง ๆ ให้ผู้ปกครองทราบ
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการศึกษาขั้นก่อนประถม
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectการศึกษาขั้นอนุบาล
dc.subjectการศึกษาปฐมวัย
dc.titleปัญหาและแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2
dc.title.alternativeProblems nd guided developmnt of eduction mngement erly childhood in schools under the Chonburi primry eductionl service re office 2
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study and compare problems education management early childhood in Schools Under the Chonburi Primary Educational Service Area Office 2 and the study guided development of education management early childhood in schools as classified by graducation, teaching experiences early childhood, and school size components five aspects: the curriculum building appropriate, the environment building for early childhood learning, the activities promote development for early childhood learning, the evaluation development and early childhood learning, and the relation between home and schools. The samples consisted of 159 early childhood teachers from Schools Under the Chonburi Primary Educational Service Area Office 2. The research instrument employed for the data collection was a set of five rating-scale questionnaires which the discrimination was .28-.80 and the coefficient reliability was .96. The statistics in the study were mean, standard deviation, t-test, One-way ANOVA and LSD (Least Significant Difference). The results of the study were as follows: 1. The problems education management early childhood in Schools Under the Chonburi Primary Educational Service Area Office 2 was rated at medium level. 2. The comparing of problems education management early childhood in Schools Under the Chonburi Primary Educational Service Area Office 2 as classified by graducation, teaching experiences early childhood, and school size in overall was not statically significant difference. 3. The guided development of education management early childhood in Schools Under the Chonburi Primary Educational Service Area Office 2 as follows: the curriculum building appropriate by should to set experiences appropriate with needs early childhood children , the environment building for early childhood learning by set environment for respond to needs, interest, and early childhood children development, the activities promote development for early childhood learning by promote observation process, listening, and assertive, the evaluation development for early childhood learning by assessment early childhood children development to continuous and uniformity and the relation between home and school by report news for parents.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameกศ.ม.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.28 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น