กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6836
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorพงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ
dc.contributor.advisorทิพย์เกสร บุญอำไพ
dc.contributor.authorณฐาภพ สมคิด
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:21:40Z
dc.date.available2023-05-12T03:21:40Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6836
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการสอนการทำงานเป็นทีม แบบอิงประสบการณ์ สำหรับนิสิตครู มหาวิทยาลัยบูรพา และเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของระบบที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิต ครู มหาวิทยาลัยบูรพา ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 ได้มาจากการสุ่มตัวอย่าง แบบแบ่งกลุ่ม (Cluster sampling) จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินความสามารถในการทำงานเป็นทีม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test dependent) ค่าประสิทธิภาพ E1/ E2 ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. ระบบการสอนการทำงานเป็นทีม แบบอิงประสบการณ์ สำหรับนิสิต ครู มหาวิทยาลัยบูรพา ประกอบไปด้วย ส่วนปัจจัยนำเข้า (Input) ได้แก่ 1) สภาพปัญหา และความต้องการในการพัฒนาการทำงานเป็นทีม 2) แนวคิดการสอนแบบอิงประสบการณ์ 3) วัตถุประสงค์ของระบบ 4) ผู้เรียน 5) ผู้สอน 6) แผนการสอน 7) แหล่งเรียนรู้ 8) แบบประเมินความสามารถในการทำงานเป็นทีม ส่วนกระบวนการ (Process) ขั้นตอนการสอนการทำงานเป็นทีม แบบอิงประสบการณ์ ได้แก่ 1) นำเข้าสู่บทเรียน 2) มอบหมายงานและแบ่งทีม 3) แจ้งวัตถุประสงค์และแจ้งประสบการณ์ที่คาดหวังของงาน 4) ทดสอบก่อนเผชิญประสบการณ์ 5) เผชิญประสบการณ์ 6) ผจญประสบการณ์ 7) เผด็จประสบการณ์ 8) ทดสอบหลังเรียน ส่วนผลลัพธ์ (Output) ได้แก่ 1) ความสามารถในการทำงานเป็นทีม 2) ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน ส่วนผลย้อนกลับ (Feedback) ได้แก่ 1) ความสามารถในการทำงานเป็นทีม 2) ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน 3) ประสิทธิภาพของระบบการสอน 2. ผลการทดสอบประสิทธิภาพ พบว่า ค่าเฉลี่ยร้อยละคะแนนความสามารถในการทำงานเป็นทีม ก่อนเรียนและหลังเรียน (Pretest/ Posttest) หน่วยการเรียนที่ 1 เท่ากับ 52.52/ 53.46 หน่วยการเรียนที่ 2 เท่ากับ 53.46/ 55.06 แสดงว่า ความสามารถในการทำงานเป็นทีมของผู้เรียนเพิ่มขึ้นหลังจากเรียนด้วยระบบการสอนที่พัฒนาขึ้น และคะแนนเฉลี่ยของกิจกรรม ระหว่างเรียนและหลังเรียน กำหนดเกณฑ์ที่ 80/ 80 พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์การเรียนของหน่วยที่ 1 คือ E1/ E2 = 82.93/ 82.00 และหน่วยที่ 2 คือ E1/ E2 = 81.86/ 84.26 ซึ่งมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 3. ผลการรับรองคุณภาพ ระบบการสอนการทำงานเป็นทีม แบบอิงประสบการณ์ สำหรับนิสิตครู มหาวิทยาลัยบูรพา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ โดยพิจารณาจากเกณฑ์ของมาตรประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มาก ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.49
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectครู -- การสอน
dc.subjectการสอน
dc.subjectการทำงานเป็นทีม
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
dc.titleการพัฒนาระบบการสอนการทำงานเป็นทีมแบบอิงประสบการณ์สำหรับนิสิตครู มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.title.alternativeDevelopment of n experience-bsed tem working instructionl system for burph university student techers
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop an Experience-based team working instructional system for Burapha university student teachers, and to test the efficiency of the model. The samples were Burapha student teachers who registered in the first semester of academic year 2016. The samples were 25 students selected by Cluster sampling. The research instruments were the evaluation form for team working. Statistics used for analyzing data were mean, standard deviation, t-test dependent and the efficiency E1/ E2 The research results were: 1. The Structure of an Experience-based team working instructional system for Burapha University student teachers were; Input which consisted of; 1) Problems and needs of team working development 2) Experience based approach 3) Purpose of an instructional system 4) Student 5) Teacher 6) Lesson plan 7) learning resources 8) Evaluation form for team working. Process was teaching procedure consisted of; 1) Introduction to lesson 2) Assignment and teaming 3) Inform the purpose and inform experience expect of jobs 4) Pretest before facing the situation 5) Facing the situation 6) Fighting the situation 7) Finishing the situation 8) Posttest after class. The output consisted by 1) Teamwork ability 2) Results of learning. Feedback consisted of; 1) Teamwork ability 2) Results of learning 3) The efficiency of an instructional system. 2. The results of efficiency test were mean and percentage of teamwork ability score, Module 1 pretest/ posttest was 52.52/ 53.46, Module 2 pretest/ posttest was 53.46/ 55.06 that means teamwork ability of students increase after study with an instructional system. The score of activities during study and test after study with E1/ E2 criteria, and set score at 80/ 80. The results were that Module 1 E1/ E2 = 82.93/ 82.00 Module 2 E1/ E2 = 81.86/ 84.26 which met specified criteria. 3. The results of quality certification of an instructional system by the experts with Rating scale was “Highly appropriate”, mean was 4.49.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีการศึกษา
dc.degree.nameปร.ด.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.27 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น