กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6828
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรัตน์ ไชยชมภู | |
dc.contributor.author | พิมพ์ญาฎา นูพิมพ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:21:38Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:21:38Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6828 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยาสังกัดเทศบาลเมืองวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว จำแนกตามเพศ วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนเทศบาล มิตรสัมพันธ์วิทยา ปีการศึกษา 2559 จำนวน 80 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ อยู่ระหว่าง .30-.71 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (Reliability) เท่ากับ .96 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าคะแนนเฉลี่ย () ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน () และการวิธีวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Effect size (ES.) ผลการวิจัยพบว่า 1. การศึกษาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา สังกัดเทศบาลเมืองวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงอันดับค่าคะแนนเฉลี่ย จากมากไปหาน้อย 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการคัดกรองนักเรียน ด้านการส่งต่อนักเรียน ด้านการป้องกันและแก้ไข ปัญหานักเรียน และด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 2. การเปรียบเทียบการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา สังกัดเทศบาลเมืองวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว จำแนกตามเพศ โดยรวมอยู่ในระดับแตกต่างปานกลาง เมื่อพิจารณา รายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับแตกต่างน้อย 3. การเปรียบเทียบการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา สังกัดเทศบาลเมืองวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว จำแนกตามวุฒิการศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับแตกต่าง ปานกลาง ยกเว้น ด้านการส่งเสริมนักเรียน และด้านการส่งต่อนักเรียนอยู่ในระดับแตกต่างน้อย และด้านการรู้จัก นักเรียนเป็นรายบุคคล อยู่ในระดับไม่แตกต่าง 4. การเปรียบเทียบการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา สังกัดเทศบาลเมืองวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว จำแนกตามประสบการณ์ในการสอน โดยครูที่มีประสบการณ์ ในการสอน1-3 ปี กับ 3-5 ปี พบว่า โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับแตกต่างมาก ครูที่มีประสบการณ์ในการสอน 1-3 ปี กับมากกว่า 5 ปี โดยรวมอยู่ในระดับแตกต่างมาก และครูที่มีประสบการณ์ในการสอน 3-5 ปี กับมากกว่า 5 ปี โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับแตกต่างน้อย | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา | |
dc.subject | ความช่วยเหลือทางการศึกษา | |
dc.subject | นักเรียน -- การดูแล | |
dc.subject | โรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา -- นักเรียน | |
dc.subject | นักเรียน -- การดำเนินชีวิต | |
dc.title | ศึกษาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา สังกัดเทศบาลเมืองวังน้ำเย็นจังหวัดสระแก้ว | |
dc.title.alternative | The implementtion on student cre system of tessbn Mitsmpnwitthy school under Wngnmyen municiplity; Skeo province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to study and compared the implementation of student care system at Tessaban Mitsampanwittaya School under Wangnamyen Municipality; Sakaeo Province. The sample of this study was 80 teachers at Tessaban Mitsampanwittaya School under Wangnamyen Municipality; Sakaeo Province, classified by sexes, educational background and work experiences. They were selected by purposive sampling. The research instrument was a five-rating-scale, with discriminant valve between .30-.71 and the reliability value of .96. Statistical devices used for analyzing the data were Mean, Standard Deviation, and Effect size (ES.) The findings were as follows: 1. The implementation of student care system at Tessaban Mitsampanwittaya School; in all and each aspect were rated at a high level, ranking from student screening, forwarding the students, the prevention and problem resolution of the students and the recognition of individual student, respectively. 2. The comparison on the implementation on student care system of the school between gender showed that there was moderate difference. 3. Comparison of the implementation of student care system at the school according to the educational background, in all and each aspects were different at moderate level; except, the student screening and the forwarding students were different at a low level, the recognition of individual was not different. 4. Comparison of the implementation of student care system at the school according to the teaching experiences between 1-3 years and 3-5 years, in all and each aspects were different at a high level, the teaching experiences of 1-3 years and more than 5 years in all and each aspects were different at a high level and the teaching experiences of 3-5 years and more than 5 years in all and each aspects were different at a low level. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารการศึกษา | |
dc.degree.name | กศ.ม. | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.01 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น