กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/679
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชาดล เมฆประดับ | th |
dc.contributor.author | สุวรรณา จันทร์ประเสริฐ | th |
dc.contributor.author | สุจิตรา สมชิต | th |
dc.contributor.author | นิสากร กรุงไกรเพชร | th |
dc.contributor.author | อัญชลี สลับสี | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:53:01Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:53:01Z | |
dc.date.issued | 2548 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/679 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้ทำการศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรในคณะพยาบาลศาสตร์เกี่ยวกับระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม จำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 50 ของแบบสอบถามที่ส่งให้บุคลากรที่ปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 22 พฤศจิการยน 2547 ถึงวันที่ 15 มกราคม 2548 ผลการศึกษามีประเด็นสำหรับที่ผู้บริหารสถาบันควรใช้ในการพัฒนาระบบจัดการสิ่งแวดล้อมในคณะพยาบาลศสตร์ ดังนี้ 1.บุคลากรเห็นด้วยว่าควรมีการจัดระบบจัดการสิ่งแวดล้อมในคณะพยาบาลศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 92.3 แต่การขอรับการรับรองระบบตามมาตรฐาน ISO 14001 มีผู้เห็นด้วยเพียงร้อยละ 67.3 เท่านั้น ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าบุคลากรยังไม่พร้อมที่จะดำเนินการตามข้อกำหนดในระบบ มาตรฐาน IOS 14001 ทั้งหมด อย่างไรก็ตามคณะพยาบาลศาสตร์เป็นสถาบันทางด้านสุขภาพควารเป็นแบบอย่างที่ดีในการจัดระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมด้วย ดังนั้นคณะพยาบาลศาสตร์ควรมีการกำหนดมาตรฐานในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม และถือปฏิบัติทุกคน 2.การพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมสู่การรับรองมาตรฐาน ISO 14001 คณะพยาบาลศาสตร์ควรกำหนดมาตรการในการควบคุม กำกับให้เกิดระบบการดำเนินการอย่างแท้จริง โดยถือเป็นความรับผิดชอบร่วมกัยของบุคลากรและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย การกำหนดมาตรการอาจดำเนินการด้านการสร้างแรงจูงใจ การออกเป็นกฎระเบียบปฏิบัติ ตลอดจนการกำหนดมาตรการอาจดำเนินการด้านการสร้างแรงจูงใจ การออกเป็นกฎระเบียบปฏิบัติ ตลอดจนการกำหนดบทลงโทษกรณีไม่ปฏิบัติและเป็นการทำลายสิ่งแวดล้อม 3.การขอรับการรับรองระบบจัดการสิ่งแวดล้อม ตามมาตรฐาน ISO 14001 ควรดำเนินการเมื่อได้นำข้อข้อกำหนดต่างๆ ลงสู่การปฏิบัติจนเกิดความตระหนัก การยอมรับ และปฏิบัติจนเป็นประจำวัน ทั้งนี้เนื่องจากการขอรับรองระบบมีค่าใช้จ่ายมาก และมีความต่อเนื่องผูกพันธ์ หากบุคลากรไม่มีพร้อมหรือเป็นเพียงการดำเนินการเพื่อให้ได้มาเพื่อป้ายรับรองระบบเท่านั้น ก็จะไม่มีประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตอย่างแท้จริง | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการนี้ได้รับการสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้คณะพยาบาลศาสตร์ ปี 2548 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การจัดการสิ่งแวดล้อม - - มาตรฐาน | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.subject | สิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.subject | ไอเอสโอ 14001 | th_TH |
dc.title | ความคิดเห็นของบุคลากรต่อการดำเนินงานระบบจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.title.alternative | The Faculty of Nursing Staff Opinions About The Environmental Managament System (ISO 14001),Burapha University | |
dc.type | Reaearch | th_TH |
dc.year | 2548 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2567_005.pdf | 3.07 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น