กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6772
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorธร สุนทรายุทธ
dc.contributor.advisorไพรัตน์ วงษ์นาม
dc.contributor.authorวัชรินทร์ โตขาว
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:20:15Z
dc.date.available2023-05-12T03:20:15Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6772
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมเชิงการเมืองและปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดพฤติกรรมเชิงการเมืองในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครู 51 โรงเรียน จำนวน 408 คน โดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าแบบ 6 ระดับ แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.90 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS หาค่าสถิติพื้นฐานและโปรแกรม HLM 7 วิเคราะห์พหุระดับ ผลการวิจัย พบว่า 1. พฤติกรรมเชิงการเมืองในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาคใต้ โดยภาพรวมอยู่ในระดับค่อนข้างน้อย กลวิธีทางการเมืองที่ใช้กันมากที่สุด คือ การสร้างเครือข่าย เกมการเมืองที่ใช้กันมากที่สุด คือ เกมสร้างอาณาจักร 2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดพฤติกรรมเชิงการเมืองในโรงเรียนสรุปได้ดังนี้ 2.1 ปัจจัยระดับบุคคล พบว่า บุคลิกแบบมีเล่ห์เหลี่ยม ส่งผลทางบวกต่อการเกิดพฤติกรรมเชิงการเมืองในโรงเรียนมากที่สุด รองลงมา คือ การหลบเลี่ยงงานหนัก ความชอบเสี่ยงความต้องการอำนาจ และความคาดหวังในความสำเสร็จ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนคุณธรรมจริยธรรม ส่งผลทางลบต่อการเกิดพฤติกรรมเชิงการเมืองในโรงเรียนมากที่สุด รองลงมา คือ ความเชื่อในอำนาจของตนเอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2 ปัจจัยระดับโรงเรียน พบว่า โครงสร้างองค์กรแบบลำดับขั้น ส่งผลทางบวกต่อการเกิดพฤติกรรมเชิงการเมืองในโรงเรียนมากที่สุด รองลงมา คือ ความขัดแย้งเชิงผลประโยชน์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จริยธรรมของผู้บริหาร ส่งผลทางลบต่อสัมประสิทธิ์ การถดถอยของความต้องการอำนาจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจริยธรรมของผู้บริหาร ส่งผลทางบวก ต่อสัมประสิทธิ์การถดถอยของความชอบเสี่ยง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการเมือง -- การศึกษา
dc.subjectการเมืองกับการศึกษา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectโรงเรียนมัธยมศึกษา -- การบริหาร
dc.titleปัจจัยพหุระดับที่ส่งผลต่อการเกิดพฤติกรรมเชิงการเมืองในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคใต้
dc.title.alternativeMulti-level fctors tht influence on politicl behviorsin secondry school under the jurisdiction of the office of the bsic eduction in the south of thilnd
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to investigate political behaviors in organization and to investigate factors that influence on political behaviors in secondary schools under the jurisdiction of the Office of the Basic Education in the south of Thailand. The sample, derived by multi-stage random sampling from 51 schools in the south of Thailand, consisted of 408 teachers. Data were collected by 6 point-rating scale questionnaires, reliability .90. The data were analyzed by using descriptive statistics (percentage, mean, and standard deviation). HLM 7 for multi-level analysis. The study found that: 1. The political behaviors in secondary schools under the jurisdiction of the Office of the Basic Education in the south of Thailand is somewhat low. The most popular political tactic is to build a network. The most popular political game is the empire-building game. 2. Influence factors on political behaviors in school are as follows: 2.1 Individual factors, the study found that Machiavellianism most positive influence on political behaviors in school, avoiding hard work, risk-seeking propensity, need for power, and expectation of success has a statistically significant influence on the political behavior in secondary schools, respectively. (p < .05). Morality has a statistically significant most negative influence on the political behaviors in secondary schools, and internal locus of control, respectively. (p < .05). 2.2 Organization factors, the study found that hierarchical structure has a statistically significant most influence on the political behaviors in secondary schools, and built-in conflicts of interest, respectively. (p < .05). Ethics of administrators have a statistically significant influence on regression coefficient of risk-seeking propensity (p < .05), but have a statistically significant negative influence on regression coefficient of the need for power (p < .05).
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameปร.ด.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.08 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น