กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6737
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปฎิยุทธ์ ขวัญอ่อน | |
dc.contributor.advisor | สวามินี ธีระวุฒิ | |
dc.contributor.author | ทรงพล สงวนทรัพย์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:17:58Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:17:58Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6737 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพและอายุการเก็บรักษาของเนื้อกุ้งขาว(Litopenaeus vannamei) ต้มสุกเคลือบสารสกัดจากชาเขียวและกรดแอสคอร์บิกที่ความเข้มข้นต่างกันได้แก่ T112 (สารสกัดจากชาเขียว 1.25% และกรดแอสคอร์บิก 1.25%), T106 (สารสกัดจากชาเขียว 1.25% และกรดแอสคอร์บิก 0.625%), T212 (สารสกัดจากชาเขียว 2.5% และกรดแอสคอร์บิก1.25%) และ T206 (สารสกัดจากชาเขียว 2.5% และกรดแอสคอร์บิก 0.625%) เปรียบเทียบกับเนื้อกุ้งขาวต้มสุกเคลือบสารละลายอัลจิเนต 0.002% (TAC) เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4±1 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 28 วัน พบว่า ในชุดการทดลอง T212 สามารถชะลอการเปลี่ยนแปลง คุณภาพทางจุลชีววิทยา (จำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมด) คุณภาพทางเคมี (TVB-N และ TMA-N) คุณภาพ ทางกายภาพ (aw , pH และแรงเฉือน) และคุณภาพทางประสาทสัมผัส (กลิ่น รสชาติกลิ่นรสและ เนื้อสัมผัส) ได้ดีที่สุด รองลงมาได้แก่ T206, T112, T106 และ TAC ตามลำดับ ทั้งนี้การเคลือบสาร สกัดจากชาเขียวและกรดแอสคอร์บิกมีผลต่อค่าสี (L*, a*และb*) และลักษณะปรากฏ เนื่องจากสีของสารสกัดจากชาเขียวทำให้เนื้อกุ้งขาวต้มสุกมีสีขาวอมเหลืองตลอดระยะเวลาการเก็บรักษา ซึ่งเมื่อพิจารณาจากมาตรฐานของปริมาณ TVB-N ในสัตว์น้ำแปรรูปที่ควรมีปริมาณไม่เกิน 35 mg N/100g, TMA-N ไม่เกิน 5 mg N/100g และจำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมดไม่ควรเกิน 6.0 log CFU/g สรุปได้ว่า ชุดการทดลอง T212 เก็บรักษาได้ 22 วัน รองลงมาได้แก่ T112 และ T206 เก็บได้ 20 วัน T106 ที่เก็บได้ 14 วัน ในขณะที่ TAC เก็บได้เพียว 8 วัน และยังตรวจไม่พบจุลินทรีย์ก่อโรคทั้งโคลิฟอร์มแบคทีเรีย, E. coli, B. cereus, C. perfringens, Salmonella spp., S. aureusและ V. parahaemolyticus ในการเก็บรักษา | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | สารสกัดจากสัตว์ -- การวิเคราะห์ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวาริชศาสตร์ | |
dc.subject | สารสกัดจากสัตว์ | |
dc.subject | เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) | |
dc.subject | อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ | |
dc.title | ผลของการเคลือบสารสกัดจากชาเขียวและกรดแอสคอร์บิกต่อคุณภาพของกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei) ต้มสุก | |
dc.title.alternative | Effect of green te extrct nd scorbic cid coting on cooked pcific white shripm (litopeneus vnnmei) qulity | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The research aimed to study the quality assessment and shelf-life of cooked pacific white shrimp (Litopenaeus vannamei) coated with green tea extract and ascorbic acid at different concentrations such as T112 (1.25% green tea extract and 1.25% ascorbic acid), T106 (1.25% green tea extract and 0.625% ascorbic acid), T212 (2.5% green tea extract and 1.25% ascorbic acid) and T206 (2.5% green tea extract and 0.625% ascorbic acid) compared to cooked shrimp coated with 0.002% alginate solution (TAC) during refrigerated stored at 4±1 °C for 28 days. T212 was the most effectively retarded qualities change of microbiological (total viable count), chemical (TVB-N, TMA-N), physical (aw , pH, shear force) and sensorial (odor, flavor, taste and texture) followed by T206, T112, T106 and TAC respectively. The coatings of green tea extract and ascorbic acid had significant effects on color (L*, a*, b*) and appearance. Due to the color of the green tea extract, cooked shrimp hasyellowish throughout the storage period. Based on the standard of TVB-N in fishery product should not exceed 35 mg N/100g, TMA-N should not exceed 5 mg N/100g and total viable count should not exceed 6.0 log CFU/g, conclude that T212 can be stored for 22 days, followed by T112 and T206 for 20 days and T106 for 14 days, While TAC has collected only 8 days, and undetected pathogens including coliform bacteria, E. coli, B. cereus, C. perfringens, Salmonella spp., S. aureus and V. parahaemolyticus. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | วาริชศาสตร์ | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 3.38 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น