กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6728
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเด่นชัย ปราบจันดี
dc.contributor.advisorจันทร์พร พรหมมาศ
dc.contributor.authorทัณฑิกา วงศ์เครือ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:17:56Z
dc.date.available2023-05-12T03:17:56Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6728
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษความสามารถในการใช้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษและเจตคติต่อการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการเรียนการสอนโดยประยุกต์แนวคิดแบบเน้นโครงสร้างไวยากรณ์กับกลุ่มที่ได้รับการเรียนการสอนเขียนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนอนุบาลทุ่งเสลี่ยม (บ้านเหมืองนา) จังหวัดสุโขทัย จำนวน 2 ห้องเรียน 62 คน ซึ่งได้มาจากวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้อง จำนวน 32 คน และกลุ่มควบคุม 1 ห้อง จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนการสอนโดยประยุกต์แนวคิดแบบเน้นโครงสร้างไวยากรณ์ (Form-focused instruction) แผนการจัดการเรียนการสอนเขียนแบบปกติ แบบวัดความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษ แบบวัดความสามารถในการใช้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษและแบบวัดเจตคติต่อการเขียนภาษาอังกฤษ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ได้รับการเรียนการสอนโดยประยุกต์แนวคิดแบบเน้นโครงสร้างไวยากรณ์กับนักเรียนที่ได้รับการเรียนการสอนเขียนแบบปกติ มีความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษ ความสามารถในการใช้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษและเจตคติต่อการเขียนภาษาอังกฤษหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การเขียน
dc.titleผลการจัดการเรียนการสอนโดยประยุกต์แนวคิดแบบเน้นโครงสร้างไวยากรณ์ที่มีต่อความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษและเจตคติต่อการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
dc.title.alternativeEffects of form-focused instruction ctivities on English writing bility nd ttitude towrd English writing instruction of Prthom Suks Six students
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research were to compare English writing ability, English grammar ability, and attitude toward English writing instruction between Prathom Suksa six students, taught by Form-Focused Instruction activities and those taught by the traditional English writing method. The participants were sixty-two Prathom Suksa six students in the first semester of the academic year 2016 from Anubanthungsaliam School (Ban Muangna), Sukhothai province. They were selected by the multi-stage sampling technique then assigned into two groups for an experimental group (n = 32) and a control group (n = 30). The research instruments consisted of Form-Focused Instruction activities lesson plan, English writing traditional method lesson plans, English writing ability test, English grammar ability test, and an attitude toward English writing instruction questionnaire. The data were analyzed by using an independent t-test. The results revealed that English writing ability, English grammar ability and attitude toward English writing instruction of Prathom Suksa six students after learning with Form-Focused Instruction activities and English writing traditional method were significantly different from the pre-instruction at the .05 level.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอน
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.61 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น