กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6710
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเทียนแก้ว เลี่ยมสุวรรณ
dc.contributor.authorยุทธนา สารถี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-05-12T03:17:52Z
dc.date.available2023-05-12T03:17:52Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6710
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง “ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของกำลังพล กรมยุทธการทหาร”มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของกำลังพลกรมยุทธการทหารและเพื่อเปรียบเทียบระดับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านการทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ กำลังพล กรมยุทธการทหาร กลุ่มตัวอย่างจำนวน 188 คน ซึ่งได้จากวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบปฐมภูมิ เป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย( X̅ ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างตัวแปรใช้ค่าการทดสอบที (Independent sample t-test) และสถิติOne-way ANOVA, Brown-forsythe และ Welch โดยเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ (Soheff’smethod)และ LSD โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า ระดับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของกำลังพล กรมยุทธการทหารในภาพรวมอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีขวัญและกำลังใจมากเป็นลำดับแรกคือ ด้านการยอมรับในการทำงานและความมั่นคง รองลงมา คือ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมงานด้านสภาพแวดล้อมการทำงานและความรับผิดชอบในหน้าที่ ด้านความรู้สึกเป็นหนึ่งของหน่วยงานด้านสวัสดิการ ส่วนด้านความก้าวหน้าในอาชีพ เป็นด้านที่มีขวัญและกำลังใจต่ำสุด ผลการเปรียบเทียบขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของกำลังพล พบว่า กำลังพล กรมยุทธการทหารที่มี เพศ วุฒิการศึกษา รายได้ และลักษณะงาน ที่แตกต่างกัน มีระดับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานการวิจัยและกำลังพล ที่มี อายุ สถานภาพสมรส ชั้นยศ และระยะเวลาการปฏิบัติงานในตำแหน่งปัจจุบันที่แตกต่างกัน มีระดับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05เป็นไปตามสมมติฐาน
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectทหาร -- ความพอใจในการทำงาน
dc.subjectขวัญในการทำงาน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทัวไป
dc.titleขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของกำลังพล กรมยุทธการทหาร
dc.title.alternativeWork morte nd motivtion of the working soldiers directorte of joint opertions
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research are 1) to study the morate of the working soldiers in the Directore of joint Operation Royal Thai Armed Forces 2) to compare the morale levels of the working soldiers shown in their different aspects of private personality and working backgrounds with the morale. The sample group was the group of the 188 soldiers who were working in the Directorate of Operation in the Royal Thai Armed Force 2016. The research tool was a questionnaires with the four rating scale The descriptive statistics were percentage (%), mean ( X̅ ), standard deviation (SD), T-test (Independent Sample t-test) Statistic One-way ANOVA, Brown - forsythe, Welch, compare by Scheff’s method and LSD and education background had the .05 level of statictical significance. The major findings shoe 1) the high the morate level of the working soldiers in the Directore of joint Operation Royal Thai Armed Forces. The individual morale aspects of Working Acceptance and stability were shown in the high levels shown in the working soldiers with differentages, marital status, and education backgrounds had the .05 level of statistical significance
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารทัวไป
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.12 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น