กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6698
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุษณากร ทาวะรมย์ | |
dc.contributor.author | ฉัตรมงคลช์ โสธรพิทักษ์คุณ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:17:49Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:17:49Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6698 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษามูลเหตุจูงใจในการเสพยาเสพติดก่อนเข้ารับการบำบัดด้วยเมทริกซ์โปรแกรม กรณีศึกษาโรงพยาบาลแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และ 2) เพื่อศึกษามูลเหตุจูงใจที่ทำให้ผู้เข้ารับการบำบัดยังคงมีการเสพยาเสพติดระหว่างการบำบัดด้วยเมทริกซ์โปรแกรม กรณีศึกษาโรงพยาบาลแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key informants) คือ ผู้เข้ารับการบำบัดยาเสพติด (ยาบ้าและยาไอซ์) ที่ยังคงมีการใช้ยาเสพติดอยู่ในระหว่างการบำบัด จำนวน 20 คน ซึ่งถูกคัดกรองและตรวจพบสารเสพติดในปัสสาวะระหว่างการบำบัด และยินยอมให้เก็บข้อมูล สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลนั้นใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) โดยจำแนกตามชนิดของข้อมูลและการเปรียบเทียบข้อมูลเพื่อสรุปผลตามวัตถุประสงค์การวิจัย ผลการวิจัยพบว่า ผู้ให้ข้อมูลสำคัญส่วนใหญ่เป็นเพศชาย (จำนวน 19 คน) เพศหญิง (จำนวน 1 คน) มูลเหตุจูงใจที่ทำให้เสพยาเสพติดก่อนเข้ารับการบำบัด (ครั้งแรก) คือ เพื่อนชักชวน (จำนวน 10 คน) ความอยากรู้อยากลอง (จำนวน 8 คน) ความเครียด (จำนวน 1 คน) และความเสียใจ (จำนวน 1 คน) ส่วนมูลเหตุจูงใจที่ทำให้เสพยาเสพติดในระหว่างบำบัด อันดับหนึ่ง คือ เพื่อนและคนใกล้ชิด (จำนวน 14 คน) เกิดจากเพื่อนชักชวนให้เสพ อันดับสอง คือ อาชีพและเศรษฐกิจ (จำนวน 3 คน) เนื่องจากต้องการให้ตนเองทำงานได้มากขึ้นและนานขึ้น อันดับสาม คือ ตนเอง (จำนวน 2 คน) โดยเกิดจากความเครียดจากปัญหาส่วนตัว อันดับสี่ คือ ครอบครัว (จำนวน 1 คน) เนื่องจากต้องการประชดพ่อแม่ ส่วนสังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นเพียงปัจจัยเสริมให้มูลเหตุอื่น ๆ เกิดขึ้น เช่น อยู่ในสังคมกลุ่มเพื่อนทีเสพยาอาจจะมีโอกาสถูกเพื่อนที่เสพยาชักชวนได้ง่าย เป็นต้น | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ยาเสพติด -- การรักษา -- สถานที่ตั้ง | |
dc.subject | ยาเสพติด -- ชลบุรี | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน | |
dc.title | มูลเหตุจูงใจของผู้เข้ารับการบำบัดด้วยเมทริกซ์โปรแกรมที่ยังคงใช้ยาเสพติดในระหว่างการบำบัด กรณีศึกษาโรงพยาบาลแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี | |
dc.title.alternative | Motivtion mong drug ddicts rehbilitted by mtrix model while using nrcotic drugs : cse study of lem chbng hospitl, mphoe sirch, chonburi province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this qualitative study was twofold. First, it aimed at examining motivation in using narcotic drugs among patients before being rehabilitated by a matrix model at Laem Chabang Hospital, Amphoe Siracha, Chon Buri Province. Also, this study attempted to investigate motivation in getting drug rehabilitation by the matrix model among drug addicts while using narcotics drugs. An in depth interview technique was used to collect the data. The key informants included 20 patients who were using narcotic drugs during the time of therapy for methamphetamine and crystal methamphetamine (ICE). These informants were screened, and drug substance was found in their urine testing. Also, they were contented to release their personal information. A content analysis technique was used to analyze the collected data. The results gained from the analysis were grouped, compared, and summarized. The results of the study revealed that the subjects comprised 19 males and one female. Regarding their motivation to use narcotic drugs, a peer influence was rated the highest (10 people), followed by their curiosity (8 people), stress (1 person), and sorrow (1 person). Regarding the motivation to use narcotic drugs while getting therapy at the hospital, these inciuded the influence from peers and close friends (14 people) and persuasion from peers. The second cause was due to occupation and economic pressure (3 people). The patients reported that they needed to take narcotics drugs, so that they could work more and longer hours. Two of the patients admitted that they themselves were also the cause of their drug abuse which resulted from personal problems and stress. The fourth cause of their drug addiction was caused by family problems (1 person). This was due to the fact that the patient wanted to act sarcastically to hurt his parents indirectly. Finally, it was found that society and environment were the additional factors leading to their drug addiction. This included the fact that they were in a circle of friends taking narcotics drugs and were under a peer influence. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน | |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 3.31 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น