กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6694
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorจักรชัย สื่อประเสริฐสิทธิ์
dc.contributor.authorยุพรัตน์ สายบุญเกิด
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-05-12T03:17:49Z
dc.date.available2023-05-12T03:17:49Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6694
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเลือกซื้อบ้านหลังแรกตามโครงการบ้านประชารัฐของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอาชีพกับพฤติกรรมการเลือกซื้อบ้านหลังแรกตามโครงการบ้านประชารัฐของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอาชีพกับเงื่อนไขและมาตรการตามโครงการบ้านประชารัฐของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรายได้กับพฤติกรรมการเลือกซื้อบ้านหลังแรกตามโครงการบ้านประชารัฐของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี และ 5) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรายได้กับเงื่อนไขและมาตรการตามโครงการบ้านประชารัฐของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี การวิจัยใช้แบบสอบถามในเก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่มประชากรผู้บริโภคที่ซื้อบ้านหลังแรกในโครงการบ้านประชารัฐในจังหวัดชลบุรี รวมจำนวนทั้งสิ้น 372 ครัวเรือน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบความสัมพันธ์แบบนอกพาราเมตริก (Non-parametric statistics) คือ ไคว์สแควร์ (Chi-square) ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคมีพฤติกรรมการเลือกซื้อบ้านจัดสรรตามโครงการบ้านประชารัฐในจังวัดชลบุรี เมื่อพิจารณาตามรายประเด็น พบว่า 1.1) กลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคส่วนใหญ่เลือกซื้อบ้านในโครงการไลฟ์แอนด์ลิฟวิ่ง 1.2) ระดับราคาบ้านจัดสรรตามโครงการบ้านประชารัฐส่วนใหญ่อยู่ในระดับราคา (1,000,000-1,500,000 1.3) บุคคลที่มีอิทธิพลมากที่สุดในการตัดสินใจเลือกซื้อบ้านจัดสรรตามโครงการบ้านประชารัฐส่วนใหญ่ คือ ตัวเอง 1.4) วัตถุประสงค์ในการเลือกซื้อบ้านจัดสรรตามโครงการบ้านประชารัฐ ส่วนใหญ่เพื่อที่อยู่อาศัยโดยตัวเองและครอบครัว 1.5) ระยะเวลาในการพิจารณาซื้อบ้านจัดสรรตามโครงการบ้านประชารัฐส่วนใหญ่ ใช้ระยะเวลาในการตัดสินใจซื้อ 1-2 เดือน 1.6) แหล่งข้อมูลของบ้านจัดสรรตามโครงการบ้านประชารัฐ ส่วนใหญ่ทราบข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 1.7) เหตุผลสำคัญในการเลือกซื้อบ้านจัดสรรตามโครงการบ้านประชารัฐ ส่วนใหญ่เลือกซื้อเพราะโปรโมชั่นจากทางสถาบันการเงิน1.8) สถาบันการเงินที่ขอสินเชื่อบ้านจัดสรรตามโครงการประชารัฐ ส่วนใหญ่เลือกใช้ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 1.9) สิ่งที่ต้องการในการซื้อบ้านจัดสรรตามโครงการบ้านประชารัฐ ส่วนใหญ่มีความต้องการเปลี่ยนที่อยู่อาศัยใหม่และใหญ่กว่าเดิม 1.10) ทางเลือกในช่วงของการตัดสินใจเลือกซื้อบ้านตามโครงการบ้านประชารัฐ ส่วนใหญ่ไม่มีทางเลือกอื่นในช่วงการตัดสินใจซื้อ1.11) ภาพรวมการพึงพอใจของบ้านจัดสรรตามโครงการบ้านประชารัฐ ส่วนใหญ่พึงพอใจมาก2) ส่วนผลการศึกษาสัมพันธ์ระหว่างอาชีพกับพฤติกรรมการเลือกซื้อบ้านหลังแรกตามโครงการบ้านประรัฐของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี พบว่า อาชีพความสัมพันธ์พฤติกรรมการเลือกซื้อบ้านจัดสรรตามโครงการบ้านประชารัฐของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางระดับสถิติที่ .05 3) ส่วนผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอาชีพของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรีกับเงื่อนไขและมาตรการตามโครงการบ้านประชารัฐ พบว่า อาชีพของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรีมีความสัมพันธ์กับเงื่อนไขและมาตรการตามโครงการบ้านประชารัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางระดับสถิติที่ .05 4) ส่วนผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรายได้กับพฤติกรรมการเลือกซื้อบ้านหลังแรกตามโครงการบ้านประชารัฐของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี พบว่า รายได้มีความสัมพันธ์พฤติกรรมการเลือกซื้อบ้านจัดสรรตามโครงการบ้านประชารัฐของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรีอย่างมีนัยสำคัญทางระดับสถิติที่ .05 และ 5) ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้ของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี กับเงื่อนไขและมาตรการตามโครงการบ้านประชารัฐ พบว่า รายได้ของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี มีความสัมพันธ์กับเงื่อนไขและมาตรการตามโครงการบ้านประชารัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางระดับสถิติที่ .05
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectบ้านจัดสรร -- การจัดซื้อ
dc.subjectบ้าน -- การจัดซื้อ
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.subjectการซื้อบ้าน
dc.titleพฤติกรรมการเลือกซื้อบ้านหลังแรกตามโครงการบ้านประชารัฐของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeHouse purchse behviours of consumers of the “bn prchrt” project in chonburi province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to: 1) study the house purchase behaviours of first home buyers of the “Baan Pracharat” project in Chonburi province; 2) to examine the relationship between career and “Baan Pracharat” first home buyer behaviours; 3) to examine the relationship between first home buyer career and terms and conditions of the “Baan Pracharat” project in Chonburi province; 4) to examine the relationship between first home buyers’ incomes and the house purchase behaviours of first home buyers of the “Baan Pracharat” project, and; 5) to examine the relationship between first home buyers’ incomes and conditions and measures of the “Baan Pracharat” project in Chonburi province. Questionnaires were used to gather the data from372 households who were first home buyers of the “Baan Pracharat” project in Chonburi province for the research. Descriptive statistics of percentage, mean , and standard deviation as well as non-parametric statistics of Chi-square were used to analyse the data. The research results revealed that: a. the study sample of first home buyers: i. mostly chose to purchase the “Life and Living” estate houses; ii. Most home purchased in the “Baan Pracharat” project were priced between 1,000,000 and 1,500,000 baht; iii. most influential person in the decision-making process was the purchasers themselves; iv. the purpose of the purchase choice was mostly for the purchaser and their families’ own residence; v. the period used in the decision-making process was mostly 1-2 months; vi. the main source of information about the “Baan Pracharat” project was from the Internet; vii, the most important reason in the decision to buy a house in the project was because of financial institutions’ promotions; viii. the most preferred financial lending institution was the Government Housing Bank; ix. the most significant need of fist-home buyers in the project was the need for a new and larger residence; x. there were mostly no other purchase options available to purchasers during the period of decision-making, and; xi. most purchasers were highly satisfied with the house they purchased, including a high level of satisfaction with quality. b. Analysis of the relationship between careen and “Baan Pracharat” first home buyer behaviours revealed that the careers of first home buyers had a statistically significant relationship with purchasing behaviours when the level of statistical significance was set at 0.05. c. Analysis of the relationship between first home buyer career and terms and conditions of the “Baan Pracharat” project in Chonburi province revealed that careers of first home buyers had a statistically significant relationship with the terms and conditions of the “Baan Pracharat” project when the level of statistical significance was set at 0.05. d. Analysis of the relationship between first home buyer income and “Baan Pracharat” first home buyer behaviours revealed that first home buyer income had a statistically significant relationship with “Been Pracharat” first home buyer behaviours when the level of statistical significance was set at 0.05. e. Analysis of the relationship between first home buyers’ incomes and conditions and measures of the “Baan Pracharat” project revealed that first home buyers’ incomes had a statistically significant relationship with the terms and conditions of the “Baan Pracharat” project when the level of statistical significance was set at 0.05.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf8.74 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น