กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6690
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุณี หงษ์วิเศษ
dc.contributor.authorอมร สมปัญญา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-05-12T03:17:48Z
dc.date.available2023-05-12T03:17:48Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6690
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศ ของนิสิตวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจมหาวิทยาลัยบูรพา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศของนิสิตวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพาและเพื่อเปรียบเทียบการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศของนิสิตวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน อาชีพ ระดับการศึกษาสูงสุด ระดับการศึกษาของนิสิต จำนวนชั่วโมงที่ใช้คอมพิวเตอร์ต่อวัน เก็บข้อมูลจากนิสิตวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 292 คน โดยการแจกแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test และสถิติ One-way ANOVA ผลการศึกษาสรุปดังนี้ ผลการศึกษาพบว่า การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศ ของนิสิตวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา พบว่า นิสิตวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา โดยรวมมีการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศอยู่ในระดับมาก โดยมีรายด้าน คือ ด้านการรับรู้ประโยชน์ ด้านการรับรู้ความง่ายในการใช้งาน ด้านการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามลำดับ และเปรียบเทียบการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศ ของนิสิตวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน อาชีพ ระดับการศึกษาของนิสิต จำนวนชั่วโมงที่ใช้คอมพิวเตอร์ต่อวัน พบว่า เพศชายและเพศหญิง มีความต้องการพัฒนาตนเองไม่แตกต่างกัน ส่วนอายุ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน อาชีพ ระดับการศึกษาสูงสุด ระดับการศึกษาของนิสิต จำนวนชั่วโมงที่ใช้คอมพิวเตอร์ต่อวัน มีการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ -- นักศึกษา
dc.subjectการศึกษากับเทคโนโลยี
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป
dc.subjectนิสิต -- ทัศนคติ
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศ
dc.titleการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศของนิสิตวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.title.alternativeAcceptnce of informtion technology by students of The Grdute School of Public Administrtion, Burhp university
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are to examine the acceptance of information technology among students of the Graduate School of Public Administration, Burapha University and the compare the results by sex, age, educational level, average monthly income, job, highest level of education achieved, and the number of hours per day students use computers. The study population consisted of 292 students of the Graduate School of Public Administration, Burapha University, who were asked to answer questionnaires. The statistics employed include percentage, frequency, average, standard deviation, t-test and One-way ANOVA. The results indicate that students of the Graduate School of Public Administration, Burapha University have a high level of acceptance of IT. The factors of acceptance of IT were, in order, knowing the utility of IT, knowing ease of use, and acceptance of IT as a tool. Comparison of student characteristics revealed that males and females did not differ in their desire to develop knowledge of IT, while the other characteristics of age, educational level, average monthly income, job, highest level of education achieved, and the number of hours per day students use computers differed when the level of statistic al significance was set at 0.05.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารทั่วไป
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.44 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น