กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6654
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorนิภา มหารัชพงศ์
dc.contributor.authorต่อศักดิ์ ดาบโสมศรี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:14:55Z
dc.date.available2023-05-12T03:14:55Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6654
dc.descriptionงานนิพนธ์ (ส.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractนักศึกษาอาชีวศึกษา ถ้ามีเพศสัมพันธ์ จะมีผลกระทบต่อการศึกษาและการดูแลตนเองรวมทั้งการตั้งครรภ์และโรคที่ติดต่อจากเพศสัมพันธ์ นักศึกษาจึงควรมีการหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ดังนั้นจึงศึกษาผลของทักษะชีวิตที่มีผลต่อพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ในนักศึกษาอาชีวศึกษา ในสถานศึกษาอาชีวศึกษารัฐ จังหวัดชลบุรี สุ่มตัวอย่างจาก วิทยาลัยอาชีวศึกษารัฐ จังหวัดชลบุรี จำนวน 250 คน ข้อมูลเก็บด้วยแบบสอบถามให้ตอบในห้องเรียน เมื่อ กุมภาพันธ์ 2560 และวิเคราะห์ข้อมูลด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันและวิเคราะห์การถดถอย ผลการศึกษา พบว่า นักศึกษาหญิงมากสุด ร้อยละ 84.8 ศึกษาอยู่คณะวิชาพาณิชยกรรม ร้อยละ 49.6 บิดาและมารดาอยู่ด้วยกัน ร้อยละ 52.4 ไม่มีแฟน ร้อยละ 44.8 นักศึกษามีทักษะชีวิตภาพรวมอยู่ระดับปานกลาง รองลงมาทักษะชีวิตระดับดีมาก และระดับน้อย ร้อยละ 64.4, 32.8, 2.8 และพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์อยู่ระดับดีมาก รองลงมาระดับปานกลางและระดับน้อย ร้อยละ 84.0, 12.0, 4.0 ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะชีวิตกับพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ของนักศึกษามีความสัมพันธ์กันเชิงบวก อย่างมีนัยสำคัญที่ (r = 0.37, p < 0.001) ซึ่งทักษะชีวิตมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ในเชิงบวก โดยทักษะชีวิตสามารถทำนายพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ได้ ร้อยละ 13.0 ดังนั้น จึงควรให้ความสำคัญการส่งเสริมทักษะชีวิตในนักศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อส่งเสริมการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์
dc.language.isoth
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
dc.subjectพฤติกรรมทางเพศ
dc.subjectเพศศึกษา
dc.titleทักษะชีวิตที่มีผลต่อพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษาในสถานศึกษาอาชีวศึกษารัฐ จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeLife skills ffecting the voidnce of sexul intercourse mong students in public voctionl college, chonburi province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe sexual intercourse of vocational school students may cause a negative effect on the progression of their study, self - care, the pregnancy and sexually transmitted diseases. Then, student should avoid sexual risk behaviors. Consequently, this study aimed to investigate the effect of life skills on the avoidance of sexual risk behavior among vocational school students. Two hundred and fifty students were randomly sampled from public vocational college in Chonburi Province. Administrator questionnaire were used to collect data and students complete the questionnaire in their classrooms on February 2017. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, Pearson product - moment correlation coefficient and regression analysis. The results reveal that the majority of students were female, commercial students, parent stay together and single with the percentage of 84.8, 49.6, 52.4 and 44.8, respectively. The overall life skills of students were moderate level, very good level and low level at the percentage of 64.4, 32.8, and 2.8, and students avoiding from risk sexual behaviors very good level, moderate level and low level percentage of 84.0, 12.0, and 4.0 respectively. The relationship between life skills and behavior of avoiding sexual intercourse was revealed a significant positive correlation (r = 0.37, p < 0.001). Life skills influence positive sexual avoidance behaviors. The life skills can predict the behavior of avoiding intercourse percentage of 13.0 Therefore, it should give precedence on the promoting life skills in vocational students in order to enhance the behavior of avoiding sexual intercourse.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineสาธารณสุขศาสตร์
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.49 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น