กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6638
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorยุวดี รอดจากภัย
dc.contributor.advisorนิภา มหารัชพงศ์
dc.contributor.authorทวีรัตน์ ทับทิมทอง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:12:20Z
dc.date.available2023-05-12T03:12:20Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6638
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractในปัจจุบันอัตราการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและอายุของผู้ที่เริ่มสูบบุหรี่มีแนวโน้มลดลง เป็นสาเหตุให้เกิดผลเสียและผลกระทบต่อสุขภาพ การเรียน และสังคม จึงนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ควรเร่งดำเนินการแก้ไขการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเลิกสูบบุหรี่โดยประยุกต์หลักอิทธิบาท 4 และชาหญ้าดอกขาวต่อการเลิกสูบบุหรี่ ของนักเรียนมธัยมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรี ซึ่งเป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองเปรียบเทียบผลของโปรแกรมการเลิกสูบบุหรี่ฯ ระหว่างกลุ่มทดลองต่อระดับการติดสารนิโคติน ความต้องการและความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่โดยกลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มอย่างง่ายที่เป็นนักเรียนมัธยมศึกษาที่สูบบุหรี่ จำนวน 58 คนจากโรงเรียนแสนสุข จำนวน 20 คน (กลุ่มควบคุม) โรงเรียนชลบุรี (สุขบท) จำนวน 19 คน (กลุ่มชาหญ้าดอกขาว) และโรงเรียน บ้านสวน (จั่นอนุสรณ์) จำนวน 19 คน (กลุ่มโปรแกรมการเลิกสูบบุหรี่ ฯ) เก็บข้อมูลก่อนและหลัง การทดลอง 4 สัปดาห์ โดยใช้แบบสอบถามประกอบ ด้วย 4 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลทั่วไปและพฤติกรรม การสูบบุหรี่แบบวัดระดับการติดนิโคติน ความต้องการเลิกสูบบุหรี่ความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ ข้อมูลที่ได้ถูกนำมาวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา เปรียบเทียบผลก่อนและหลังการทดลองด้วยสถิติ Paired t-test และความแตกต่างระหว่างกลุ่มด้วยสถิติ One-way ANOVA ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ p-value < 0.05 จากการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ในระดับธัยมศึกษาปีที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 43.10 และมีอายุเฉลี่ย 14.29 ± 0.86 ปีแต่ละกลุ่มมีลกัษณะการสูบบุหรี่โดยมีบุคคลในครอบครัวและเพื่อนที่สูบบุหรี่ไม่แตกต่างกัน ระดับการติดสารนิโคตินก่อนและหลังการทดลองภายในกลุ่มไม่เปลี่ยนแปลงอย่างไรกต็าม จำนวนมวนบุหรี่ที่สูบต่อวันลดลงอย่างมีนัยสำคัญภายหลังได้รับโปรแกรมการเลิกสูบบุหรี่ฯ (2.47 ± 1.95 มวนต่อวัน, p-value < 0.05) นอกจากนี้ยังพบว่า ค่าเฉลี่ยของความต้องการและความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ในกลุ่มโปรแกรมการเลิกสูบบุหรี่ ฯ ที่มีค่าสูงที่สุด (4.36 ± 0.41 คะแนนและ 4.52 ± 0.43 คะแนน ตามลำดับ) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมการเลิกสูบบุหรี่ฯอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจากการทดลองชี้ให้เห็นว่า ผลของการใช้โปรแกรมการเลิกสูบบุหรี่โดยประยุกต์หลักอิทธิบาท 4 และชาหญ้าดอกขาวสามารถลดจำนวนมวนบุหรี่ที่สูบในกลุ่มนักเรียนที่สูบบุหรี่ได้ทั้งยังช่วยเพิ่มความต้องการและความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่สูงขึ้นอีกด้วย ดังนั้น นัการประยุกต์หลักอิทธิบาท 4 ร่วมกับชาหญ้าดอกขาวจึงนำไปใช้และแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ในกลุ่มวัยเรียนต่อไปได้
dc.language.isoth
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการสูบบุหรี่ -- ชลบุรี
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ
dc.subjectบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
dc.subjectหญ้าดอกขาว -- การใช้รักษา
dc.titleผลของโปรแกรมการเลิกสูบบุหรี่โดยประยุกต์หลักอิทธิบาท 4 และชาหญ้าดอกขาวของนักเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeEffects of smoking cesstion progrm by pplying iddhipd 4 nd venoni cinerel less. te on smoking cesstion mong students in the secondry eduction service re office 18, chonburi
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeCurrently, the smoking prevalence in Thai adolescent has been increasing continuously ,while a number of current smoking has been decreasing. It may be affect to health learning and society problems, which should be rapidly modified. Thus, this study aims to investigate the effect of smoking cessation program by applying Iddhipada 4 and Vernonia Cinerea L. among students under the secondary education service area office 18, Chonburi. This study is a quasiexperimental study, that compare the Nicotine dependence level, Intention and desire of smoking cessation between groups. All subjects were collected and randomized by purposive sampling, which consist of 20 students from SaensukSchool as a control group, 19 students from Chonburi Sukkhabot School consumed with Vernonia Cinerea tea, and 19 students from Bansuan JananusornSchool received with smoking cessation program and Vernonia Cinerea tea. After 4 weeks study period, data was collected using questionnaires on 4 parts: Personal information and smoking behavior, Nicotine dependence test, Intention of smoking cessation, Desire of smoking cessation, and analyzed the descriptive data, pre- and post-test comparison using Paired Samples t-test and comparison between group using one-way ANOVA, significant set at p-value < 0.05. The results present that most of the subjects were students in junior high school (43.10 percentages) and average age was 14.29± 0.86 years old. Moreover, the baseline characteristics of cigarette smoking, having family and friend with smoking in each group were no different. After intervention period, there was no significant different change in pre-and post-test of Nicotine dependence level. However, a number of cigarette smoking was significantly decreased in subjects with smoking cessation program (average cigarette 2.47± 1.95 per day). In addition, intention and desire of smoking cessation scores were highest in group with smoking cessation ช program, when compared to other groups. As the results, this study indicates that smoking cessation program applying Iddhapada 4 and Vernonia Cinerea tea can reduce a number of cigarette smoking and increase both intention and desire of smoking cessation in students. Therefore, this applying program combined Vernonia Cinerea tea may alternative intervention to promote and solve the smoking problem among students.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการสร้างเสริมสุขภาพ
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.51 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น