กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6613
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอนันต์ อธิพรชัย
dc.contributor.authorศิริพร จิ๋วสุวรรณ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:12:14Z
dc.date.available2023-05-12T03:12:14Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6613
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractพืชในสกุล Xylocarpus ประกอบด้วยตะบูนขาว (Xylocarpus granatum) และตะบูนดำ (Xylocarpus moluccensis) จัดเป็นพืชป่าชายเลนในวงศ์เลี่ยน นำมาใช้เป็นยาพื้นบ้านในการรักษา โรคอหิวาตกโรคโรคท้องร่วงและแก้ไข้ในการศึกษานี้เป็นการทดสอบหาปริมาณสารประกอบ ฟีนอลิกรวม สารประกอบฟลาโวนอยด์รวม ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสของตะบูนขาวและตะบูนดำ จากผลการศึกษาพบว่าตะบูนขาวมีปริมาณฟีนอลิกรวม (5.33±0.25 ถึง 757.42±17.20 mgGAE/g) สูงกว่าตะบูนดำ (3.68±0.49ถึง 502.18±8.75 mgGAE/g) โดยสารสกัดหยาบจากเนื้อไม้ของตะบูนทั้ง 2 ชนิด มีปริมาณฟีนอลิกรวมสูงที่สุด และเมื่อศึกษา ปริมาณฟลาโวนอยด์รวมของตะบูนทั้ง 2 ชนิด พบว่าตะบูนทั้ง 2 ชนิด มีปริมาณฟลาโวนอยด์รวม น้อยมาก นอกจากนี้เมื่อนำทุกส่วนสกัดหยาบของตะบูนทั้ง 2 ชนิดไปทดสอบฤทธิ์ ต้านอนุมูลอิสระ พบว่า ตะบูนขาวมีฤทธิ์ ต้านอนุมูลอิสระ DPPH (DPPH radical scavenging)ได้ดีกว่าตะบูนดำในทุกส่วนสกัดนอกจากนี้ยังพบว่า ส่วนสกัดหยาบของตะบูนขาวยังมีฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ แอลฟา-กลูโคซิเดสที่ดีที่สุด (9.65±0.68 ถึง 99.66±0.17%) และดีกว่าสารมาตรฐานอคาร์โบส (84.27±0.95%) อีกด้วย
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectสารประกอบฟีนอล
dc.subjectอนุมูลอิสระ
dc.subjectเคมี
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเคมีศึกษา
dc.titleการศึกษาทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืชสกุล Xylocarpus
dc.title.alternativeChemistry nd biologicl ctivity studies from plnt in the genus xylocrpus
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativePlants of the genus Xylocarpus including Xylocarpus granatum and Xylocarpus moluccensis, belonging to the family Meliaceae, consist of ethnomedicinally important mangrove plant species that are used in traditional medicine for treatment of cholera, diarrhea, and fever. The present study was performed to evaluate the total phenolic and total flavonoid content, antioxidant and alpha-glucosidase inhibitory activity from several part extracts of Xylocarpus plants. From the results found that X. granatum extracts showed higher total phenolic content (5.33±0.25 to 757.42±17.20 mgGAE/g) than X. moluccensis extracts (3.68±0.49 to528.48±7.64 mgGAE/g). The stem extracts of these plants also showed highest the total phenolic content. Both Xylocarpus extracts showed low the total flavonoid content. In antioxidant activity found that all extracts of X. granatum showed higher antioxidant activity against DPPH free radical than X. moluccensis extracts. In addition, X. granatum extracts showed stronger alpha-glucosidase inhibitory activity and their also showed more active than standard diabetic drug acarbose (84.27 ± 0.93%).
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineเคมีศึกษา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf5.75 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น